วันจันทร์ที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2552

[Lee Min Ho] Korea do a remake of "Itazura na Kiss"




Korea do a remake of "Itazura na Kiss", Flower Boy Lee Min Ho is the most popular choice

Source Ent Hunan TV
Translated by Elvenstar @ http://asianfanatics.net



Joe Cheng and Ariel Lin starred in "It started with a kiss" a remake version of "Itazura na Kiss", it has been viewed that this was an example of a successful remake. Reporters have found out that the creators of the Korean drama "Boys over Flowers" will announce that they will be doing a remake of "Itazura na Kiss", at present they are looking for cast members, the netizens one after the other recommended "Boys before Flower" Lee Min Ho with his popularity at present extremely high.

Joe Cheng and Ariel Lin's version "It started with a kiss", they had only intended on shooting one, but they never of expected that such an old storyline would trigger explosive ratings, soon after the director decided to continue shooting "They kiss again", this has also been named a rare success story for a remake drama. The reporters saw in forums of "Itazura na Kiss" a lot of fans from "It started with a kiss" had also paid attention to the Japanese version and had a huge debate over whether Joe Cheng or Kashiwabara Takashi was more handsome, "I had watched the Taiwanese version 1st and really liked it, then I found the Japanese version to watch. I never of thought the so called "the 1st impression is the strongest" had no effect what so ever. After seeing Chong Chong (Kashiwabara Takashi) I felt the Taiwanese version wasn't that attractive, at most it was a bit more funny."

Currently, Korea's "Boys before flower" creator has also announced they will do a remake of "Itazura na Kiss", at present they are looking for cast members, In "Boys before Flower" in the Korean version starring as "Domyoji" Lee Min Ho has been demanded the most. While the other male cast members of "Boys before flowers" each had their own supporters. While for female lead Kotoko the most popular choices were Goo Hye Sun and Kim So Eun.



ผู้สร้าง “Boys Over Flower” หรือ F4 ฉบับเกาหลีกำลังจะหยิบเรื่อง “It started with a kiss” มารีเมคป็นอันดับต่อไป ซึ่งเรื่องนี้สร้างมาจากการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่อง "Itazura na Kiss" ซึ่งได้รับความนิยมอย่างสูงเมื่อนำมาทำเป็นละครทั้งในฉบับญี่ปุ่น และฉบับไต้หวันซึ่งแสดงโดย โจ เจิ้งหยวนช่าง กับแอเรียล หลินอี้เฉิน ซึ่งคนไทยเราได้ชมไปเมื่อไม่นานมานี้ในชื่อเรื่อง “แกล้งจุ๊บให้รู้ว่ารัก” สำหรับฉบับเกาหลีนี้ชาวเน็ตโหวตกันกระหน่ำให้ ลีมินโฮ หรือ “คูจุนพโย” จาก “Boys Over Flower” รับบทนี้ ส่วนดาราฝ่ายหญิงที่มีเสียงโหวตมากก็คือ โกเฮซุน และคิมโซอึน



โด่งดังกันแบบข้ามคืนกับหนุ่มน้อยลีมินโฮ (น้อยจริงๆ อายุ 23 เอง) หรืออีมินโฮ หรืออีมิโน หรือ Minoz ของสาวๆ ดังจนได้เรื่องเมื่อประเทศไทยต้องตกเป็นข่าวใหญ่ในหน้าบันเทิงเกาหลีเรื่องการจัดงานมีตติ้งแฟนคลับ จนถึงขนาดสตาร์เฮ้าส์ ต้นสังกัดของลีมินโฮต้องออกมาประกาศหน้าเว็บของหนุ่ม Minoz ว่าการจัดงานดังกล่าวไม่เป็นความจริงจนกลายเป็นข่าวร้อนอยู่ในขณะนี้ สำหรับต้นสายปลายเหตุนั้นจะเป็นประการใดไม่ทราบได้ อาจเกิดจากการเข้าใจผิดหรือการสื่อสารผิดพลาดบางประการก็ได้ (ชาวแฟนคลับเกาหลีคงรู้ดีว่าการสื่อสารของไทย-เกาหลีนั้นชวนปวดหัวเสมอมา) แต่ก็หวังว่าเรื่องราวจะจบลงด้วยดี ลีมินโฮได้ตอบคำถามของนักข่าวสั้นๆ ไว้ในการสัมภาษณ์ทาง MBC ในรายการที่ออกอากาศเมื่อวันที่ 29 ส.ค. ที่ผ่านมาดังนี้ค่ะ (อ่านกันเอาเองนะคะ ขอไม่แปลค่ะเพราะมันแสลงใจ)


[English translated by loveminho.com]
MH's short interview was aired on MBC Section TV last night. He was interviewed on the 27 Aug.

The fraud case of LMH's fan meeting in Thailand ranked second in the hot news this week.

MH : That is a fraudulent and assertive behavior that advertised falsely a performance which will never happen.

Reporter: How would that happen if the popularity of LMH weren't at the peak?^^


และนี่เป็นประกาศจากหน้าเว็บไซต์ของลีมินโฮ

Hello,
This is Starhaus entertainment.

We’d like to announce you that advertisement for Thailand promotion on Oct, 24th is false.
(please see bottom for the detail of the false advertisement)

From now on, you may find all the promotion plans and information for Min-Ho Lee on the official website of Starhaus.

So please be cautious of the wrong information not only in Korea but also overseas.

We hope no damage on any of Min-Hoกฏs fans by this kind of false information.
If you get requested this kind of advertisement or announcement, please consult with starhaus first.

Thank you for your cooperation.

((false announcement))
We announce the following is definitely false.

Oct, 24, large fan meeting with about 2,000 fans
Dining, accommodation and meeting Min-Ho Lee, VIP ticket : 21,000baht (approximately 800,000KRW)

Price from 4,800 baht (appx. 200,000KRW)

วันพุธที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2552

Lee Byung-hun in G.I. Joe

อีก 1 หนุ่มเกาหลีนะคะที่บุกฮอลีวู้ด นั่นคือลีบยุงฮุน ในบท “Storm Shadow” (ซึ่งไม่รู้ว่ามาถึงเมืองไทยจะกลายเป็นชื่ออะไร กลัวใจจริงๆ) ในภาพยนตร์แอ๊คชั่นไซไฟเรื่อง G.I. Joe ซึ่งสร้างมาจากการ์ตูนยอดฮิต ซึ่งในนี้เป็นบทสัมภาษณ์ของลีบยุงฮุนค่ะ (อนาคตเฮียจะรุ่งเพราะพูดภาษาอังกฤษได้นี่แหละ) ก็ออกแนวขำๆ ตามสไตล์ของเฮียแกล่ะค่ะ ดิฉันเองยังไม่มีโอกาสได้ดูหนังเรื่องนี้ว่าเป็นยังไง แต่คิดว่าน่าจะไปได้สวยทีเดียวสำหรับลีบยุงฮุน เพราะบทที่ได้รับก็ไม่ใช่กระจอก Storm Shadow เรียกได้ว่าเป็นตัวเอกเลยทีเดียวเพราะเป็นคู่ต่อสู้ตัวฉกาจของ Snake Eye นัยว่าเป็นศิษย์สำนักเดียวกัน แต่มาแตกคอกันเลยห้ำหั่นกันเอง ยังไงก็น่าจะดีกว่าแดเนียล เฮนนี่ ใน Wolverine ที่ออกมาแป๊บเดียวพี่แกก็ม่องเท่งซะแล้ว เฮ้อ....มาอ่านบทสัมภาษณ์ของเฮียแกกันดีกว่าค่ะ (หน้าตาพี่แกน่าจะไปเล่นเป็นโจ๊กเกอร์ในแบตแมนมากกว่านะเนี่ย)







Korean sensation Byung-hun Lee makes his American debut as the villainous Storm Shadow in G.I. Joe: The Rise of Cobra. He talks to AMCtv.com about working with special effects for the first time and the possibilities for a Snake Eyes rematch in G.I. Joe 2.

Q: Had you heard of G.I. Joe before you were offered the role?

A: I didn't know about G.I. Joe -- in Asia they don't know about it. But I heard it's a really famous cartoon, and the character is so famous. It has huge fans. So I'm a big fan of G.I. Joe now.



Q: Was it strange to make your U.S. debut in such an American movie?

A: Yeah a little bit. [Laughs] But I was hesitant about this project not because of the story, but because of the genre. In Korea, scifi is an unfamiliar genre. I've been acting realistic characters and realistic films. So I'm not used to this. But then I realized how famous this cartoon is, and especially the characters. So I'm happy.



Q: So this was your first time working with huge special effects?

A: This is my first try. It was really amazing, because even when I'm filming I didn't know this would be like that. After I watched the premiere, I was a little surprised and shocked. I didn't know what I did.



Q: You're an expert in Taekwondo. Did you have to modify your style for the movie?

A: Yeah of course. Actually [Snake Eyes actor] Ray [Park] and me had a lot of time to practice and train. We had a lot of discussions about the the style of martial arts. Ray's style of martial arts is based on Chinese Kung Fu and Wushu, and mine is based on Korean Taekwondo. Those are very different. He has a little more flash and Taewondo is simple but strong. So the stunt guys wanted us to put those characters inside our choreography.



Q: How can two characters grow up with the same training and end up practicing two different styles of Kung Fu?

A: Even though they grew up and learned from the same master, they were separated when they were kids. Maybe they could have totally different situations and totally different environments. And in that process, they could have their own specialty, I think.



Q: The Storm Shadow/Snake Eyes rivalry is pretty famous. Can you think of any way it could continue into the next movie?

A: Uh, it's hard to answer. [Laughs]



source: amctv

Four Heavenly Kings gathered at Artistes 88 Fund Raising Campaign

หยิบข่าวนี้มาฝากกันค่ะ อันนี้ไม่ค่อยเกี่ยวกับเว็บนี้เท่าไหร่ แต่ก็อยากเอามาฝากค่ะ (มั่วนิ่มซะงั้น) เพราะเป็นกิจกรรมดีๆ ที่ทางกลุ่มดาราฮ่องกงร่วมกันจัดขึ้น นำทีมโดยอาเฮียหลิวเต๋อหัว เพื่อระดมทุนไปช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากไต้ฝุ่นมรกต ซี่งตามข่าวบอกว่าระดมทุนได้มากถึงกว่า 50 ล้านเหรียญดอลลาร์ และปรากฏการณ์พิเศษในงานนี้ ก็คือการกลับมารวมตัวกันอีกครั้งของ 4 จตุรเทพ ถ้ายังจำกันได้ในสมัยนั้น (ก็สมัยที่เฮียๆ แกยังหนุ่มๆ กันอยู่น่ะค่ะ ก่อนโดนเกาหลีบุกโจมตี) ทั้ง 4 หนุ่ม (น้อย) นี่ดังกันมากๆ ประมาณว่า F4 หรือฟาเรนไฮต์นั่นแหละค่ะ ขอขานชื่อเฮียๆ กันหน่อยนะคะ ก็มี หลิวเต๋อหัว, กัวฟู่เฉิง, จางเซียะโหย่ว, และหลีหมิง งานนี้ 4 เฮียมารวมตัวกันร้องเพลงบนเวทีเดียวอีกครั้ง ซึ่งหาดูได้ยากมากและไม่รู้ว่าจะมีให้ดูอีกมั้ย (เพราะเฮียแกจะร้องกันไม่ไหวแล้วน่ะสิคะ) สำหรับเนื้อข่าวก็ตามข้างล่างนี้เลยนะคะ




Artistes 88 Fund Raising Campaign was held at Asia World-Expo last night. There was no glamourous stage nor costumes, all 300 performers from Mainland China, Hong Kong and Taiwan all wore white.

There are no cheers or light sticks, everybody gathered together no to watch an exciting performance but to tell the troubled Taiwanese typhoon victims that they are not alone, all cheered “Taiwan you can do it!”.

To support the Taiwan rescue works, initial by the Hong Kong Performing Artiste Guild, 24 organization and media collaborate in this 4-hours Artistes 88 Fund Raising Campaign, using songs to urge for donations, up till 11:30pm, with adding to the money collected from internet and donation boxes, a total of $50,900,000 was collected.

More than 100 singers sang the theme song ‘Tao Tao Qian Li Xin’ for the opening of the event. There are 13 comperes for the event which includes Nat Chan, Sandra Ng, Paw Hee Ching, Sally Wu, Sylvia Chang, Harlem Yu and other representatives from TV and radio stations. More than 300 artistes performed included Eric Tsang, Alan Tam, Andy Lau, Jacky Cheung, Aaron Kwok, Sammi Cheng, Miriam Yeung, Hacken Li, Leo Ku, Vivian Chow, David Tao, Cai Qin, Jam Hsiao and many others.

Last night, Andy was running around the stage throughout the night, he duet with Sammi Cheng in ‘He Cai’, then duet Hokkien song ‘Tian Xia Di Yi Deng’ with Richie Ren to encourage Taiwan, then duet ‘Peng You’ with Nat Chan, Alan Tam and Wynners.

The highlights of the event was the Four Heavenly Kings performed on the stage again, this is the first time that they appeared on stage at the same time since the 2007 Hong Kong handover 10 anniversary gala show.



News from: Wei Wen Po, Central Daily News
Credits: http://andylausounds.com

วันอังคารที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

วิสัยทัศน์ในการสร้างละคร ของเกาหลีใต้ เรื่อง "Surgeon Bong Da-hee"


วิสัยทัศน์ในการสร้างละคร ของเกาหลีใต้ เรื่อง "Surgeon Bong Da-hee"

Surgeon Bong Da-hee


บทวิจารณ์นี้อาจจะไม่เป็นที่รื่นรมย์ใจสำหรับผู้อ่านเท่าใดนัก ออกจะวิชาการมากไปด้วยซ้ำ แต่ผู้เขียนต้องขออนุญาตนำข้อดี ของละครเรื่อง Surgeon Bong Da-hee มาวิจารณ์เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้ชมละครทุกท่าน ปกติเรามักจะดุละครด้วยความสนุกสนานและบันเทิงใจแต่มักจะลืมคิดว่า ละครเรื่องนั้น ๆ ให้ประโยชน์อะไรกับเราบ้าง เช่นเดียวกันการที่ผู้เขียนจะวิจารณ์ละครเหมือนกับคอลัมส์ทั่วไปนั้น ผู้เขียนก็คงไม่ทำเช่นกัน เพราะหากการร่างตัวอักษรลงบนหน้ากระดาษแบบทั่วไปนั้นใคร ๆ ก็ทำ ได้ แต่หากจะเรียงร้อยถ้อยอักษรให้มีประโยชน์และควรค่าแก่ผู้อ่านก็มิใช่ว่า...ทุกคนจะทำได้เช่นกัน ดังนั้นผู้เขียนจึงต้องทำความเข้สใจกับผู้อ่านทุกท่านก่อนว่าบทวิจารณ์ทุกเรื่อง ล้วนมาจากความตั้งใจและผ่านการค้นคว้ามาทั้งสิ้น...มิได้นั่งเทียนเขียน …หากแต่กรั่นกรองมาด้วยจิตวิญาณและจรรยาบรรณของผู้เป็นนักเขียน นามว่า “ Roytavan (ร้อยตะวัน) ”

Surgeon Bong Da-hee หรือศัลยแพทย์บงดัลฮี เป็นละครเกาหลีที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับศัลยแพทย์ฝึกงานมือใหม่ ผลงานนี้น่าสนใจและน่าติดตาม โดยผู้อำนวยการสร้าง Kim Hyeong-sik ได้รับแรงบันดาลใจจากละครเรื่อง “Grey Anatomy” (ศัลยแพทย์มือใหม่) ของอเมริกา ซึ่งนำเอาโครงเรื่องของ Grey Anatomy มาดัดแปลง ตัวละครเอกของเรื่อง Bong Da-hee มีบุคลิกลักษณะเช่นเดียวกันกับ Meredith Grey ในเรื่อง “Grey Anatomy” หากเปรียบเทียบแล้ว ตัวละครทุกตัวในเรื่องมีลักษณะที่ใกล้เคียงกันหมด โดยการสร้างละครเรื่องนี้ปรับปรุงเนื้อหาและฉากถ่ายทำเรื่องให้เข้ากับสถานการณ์และนโยบายปัจจุบันของประเทศเกาหลีใต้ ซึ่งขณะนี้มุ่งเน้นที่จะ ทำโครงการ “ Health Tourism & Medical Tourism ” โดยใช้ละครเรื่อง Surgeon Bong Da-hee มาเป็นหนึ่งในกลยุทธ์ทางการตลาดเพื่อสร้างอิทธิพลให้กับชาวเอเซีย ดั่งเช่นเรื่อง Winter Sonata หรือ Winter Love Song ที่ทำให้เกิดปรกฎการณ์กระแสนิยมเกาหลี ( Hallyu Wave )มาแล้วทั่วโลก...

อย่างไรก็ตาม. .ด้วยความตั้งใจของผู้อำนวยการสร้างทำให้ละครเรื่อง Surgeon Bong Da-hee ส่งผลให้ Kim Hyeong-sik ได้รับรางวัล Best new director จากเวที Korean Baeksang Arts Awards ครั้งที่ 43 และ Lee Bum-soo นักแสดงนำชายของเรื่องได้รับรางวัล Popularity award เช่นเดียวกัน สำหรับรางวัล Baeksang Arts Awards นี้ถือเป็น 1 ใน 3 รางวัลแห่งเกียรติยศของบุคคลวงการภาพยนตร์และโทรทัศน์ ของประเทศเกาหลีใต้ที่น่าเชื่อถือและคนในวงการบันเทิงทุกคนก็ปรารถนาที่จะได้รับ...

หากจะถามว่าความงดงามของเรื่องอยู่ที่ไหน...? คงต้องบอกว่า ฉากการถ่ายทำในสถานที่จริง เช่น Seoul National University Hospital และการเดินเรื่องซึ่งสะท้อนจิตวิญญาณของศัลยแพทย์ ทำให้ละครมีเสน่ห์ ตื่นเต้นน่าสนใจ สอดแทรกมุขตลกขบขัน และความรู้พื้นฐานของศัพท์แพทย์ที่ใช้ในห้องผ่าตัด รวมทั้งสะท้อนให้เห็นถึง...วิถีชีวิตประจำวันซึ่งเป็นเรื่องจริงของผู้ประกอบวิชาชีพศัลยแพทย์.. ที่บุคคลทั่วไปไม่เคยรู้ไม่เคยเห็นมาก่อน นอกจากนี้เนื้อเรื่องยังถ่ายทอดเนื้อหาความสำคัญของจรรยาบรรณศัลยแพทย์ รวมทั้งระเบียบปฏิบัติที่จำเป็นของศัลยแพทย์ทุกสาขา เช่นวิธีการล้างมือก่อนและหลังผ่าตัด การประกาศเวลาเสียชีวิตของผู้ป่วย ระเบียบปฎิบัติสำหรับผู้ป่วยที่ติดเชึ้อ HIV การประชุมเพื่อศึกษา Case Study หลังจากที่ผู้ป่วยเสียชีวิต ที่เรียกว่า Morbidity & Mortality conference ซึ่งเป็นข้อปฏิบัติสำคัญที่ศัลยแพทย์ทุกสาขาจะต้องเข้าร่วมประชุมเพื่อศึกษาถึงความผิดพลาดที่เกิดขึ้นโดยไม่เฉลียวใจจนเป็นเหตุให้ผู้ป่วยเสียชีวิต...
สุภาษิตภาษาลาตินที่ว่า “Errare humanum, perseverare diabolicum est… การทำความผิดเป็นธรรมดาของมนุษย์ แต่การทำความผิดที่ทำซ้ำๆ กันนั้นเป็นการกระทำของปีศาจ ” ยังคงใช้ได้กับผู้ประกอบอาชีพศัลยแพทย์...

สำหรับนักแสดงนำ เช่น Lee Yo Won / Le Bum Soo / Oh Yoon Ah / Kim Min Joon
ต่างต้องเข้าไปศึกษาและเสริมทักษะประสบการณ์จากศัลยแพทย์ในโรงพยาบาล Seoul National University Hospital (ซึ่งมี 2 วิทยาเขต คือ วิทยาเขต Hankok และวิทยาเขต Seoul) เพื่อให้สวมบทบาทได้เหมือนจริงมากที่สุด โดยเฉพาะ Lee Yo Won ที่ทุ่มเทการแสดงในบทบาท Bong Da-hee เป็นอย่างมากแม้กระทั่งทรงผมที่เห็นอยู่ในเรื่องนี้ก็ถูกตกแต่งให้เหมาะสมกับการเป็นแพทย์มากที่สุด เช่นเดียวกับ Lee Bum Soo ที่ออกมาให้สัมภาษณ์กับสื่อมวลชนว่า “...ละครเรื่องนี้ยากกว่าการแสดงภาพยนตร์ที่เขาเคยแสดงเสียอีก...”

ความตั้งใจของผู้อำนวยการสร้างเพื่อให้เหมือนจริงและเพื่อให้ความรู้กับผู้ชมนั้น เราจะสังเกตได้จาก Subtitle ซึ่งเป็นการแปลความหมายของศัพท์แพทย์แต่ละคำที่มักจะขึ้นมาให้เห็นตลอดเวลาที่มีการถ่ายทำในโรงพยาบาล ยกตัวอย่างเช่น
การกู้ชีพ (CPR) หมายถึง การทำให้ฟื้นคืนชีวิตจากความตายโดยการช่วยแก้ไขระบบ
การไหลเวียนของโลหิต และระบบการนำออกซิเจนเข้าออกร่างกาย

DBA = Death Before Arrival เสียชีวิตที่เกิดเหตุ
DOA = Death On Arrival เสียชีวิตที่ห้องฉุกเฉิน
DOT = Death On Table เสียชีวิตในห้องผ่าตัด

สิ่งที่ปรากฎขึ้นในละครเรื่องนึ้ ยังสะท้อนภาพให้เห็นถึงตัวตนของผู้อำนวยการสร้าง Kim Hyeong-sik อีกด้วยว่า...มีความมุ่งมั่นและตั้งใจที่จะส่งเสริมภาพลักษณ์ธุรกิจการแพทย์และความทันสมัยของเครื่องมือเครื่องใช้และการบริการของโรงพยาบาลในประเทศเกาหลีใต้ ว่ามีศักยภาพมากเพียงใด นั่นก็อาจเป็นเพราะ Kim Hyeong-sik มีภูมิหลังเป็น ที่เชี่ยวชาญด้าน Abdominal radiation science ของ Gachon University Gil Medical Center สังกัดอยู่ในหน่วยงานสร้างภาพลักษณ์ของโรงพยาบาล และยังเป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้ง Korea National College of Rehabilitation and Welfare อีกด้วย…

ละครเรื่อง Surgeon Bong Da-he เหมาะสำหรับนักเรียน นักศึกษา และบุคคลทั่วไป ที่สนใจเรื่องราวเกี่ยวกับวงการศัลยแพทย์ และการสร้างละครที่เป็นแบบ Reality รับรองว่าเมื่อคุณรับชมแล้วไม่ผิดหวังอย่างแน่นอน...สำหรับผู้ที่สนใจใฝ่รู้สามารถเข้าไปดูตาม Link ที่แนบมาให้หวังว่าคงเป็นประโยชน์สำหรับท่านบ้างไม่มากก็น้อย...

Roytavan (ร้อยตะวัน)
กาญจน์มุนี ศรีวิศาลภพ
บทอ้างอิง
http://www.surgeons.or.th/main/index.php
http://www.thaiheart.org/index.php
http://culturefriends.or.kr/download/2008CPIInformation.doc
http://www.bloggang.com/viewblog.php?id=sweetpolarbear&date=22-06-2007&group=17&gblog=15
http://www.healthmedicaltourism.org/Articles/March_2007_Articles/South_Korea:_a_New_Destination_in_Medical_Vacation/
http://www.gilhospital.com/english/
htt p://www.ekoreajournal.net/paper/service/bk_issue.jsp?
VOLUMENO=42&BOOKNUM=3&SEASON=Autumn&YEAR=2002

วันอาทิตย์ที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

Thai Drama "The Princess" / เลือดขัตติยา




เลือดขัตติยา


บทประพันธ์ โรสลาเลน
บทโทรทัศน์ วรรณา แต่งพสุเลิศ
กำกับการแสดง สันต์ ศรีแก้วหล่อ


นำแสดงโดย
1. พิยดา อัครเศรณี แสดงเป็น เจ้าฟ้าหญิงทิพยรัตน์ดารากุมารี
2. เจษฎาภรณ์ ผลดี แสดงเป็น อโณทัย
3. กฤช หิรัญพฤกษ์ แสดงเป็น เจ้าชายสิทธิประวัติ
4. มยุริญ ผ่องผุดพันธ์ แสดงเป็น เจ้าหญิงแขไขจรัส
5. ศุภกิจ ตังทัตสวัสดิ์ แสดงเป็น เจ้าชายไชยันต์

เรื่องย่อ
ยโสธร ประเทศเล็ก ๆ ในหุบเขาแถบเอเชียกลาง ปกครองโดยเจ้าหลวงและราชินี มีรัชทายาทคือ เจ้าชายสิทธิประวัติ

เจ้าหญิงองค์น้อย ทิพยรัตน์ดารากุมารี ธิดาของเจ้าหลวงองค์ก่อน เจ้าหลวงองค์ปัจจุบันคือพระเจ้าอา ดารากุมารีอยู่ที่ตำหนักหลังเล็กกับพระมารดา ผู้ที่พยายามเคี่ยวเข็ญอบรมพระธิดาอย่างที่สุด โดยหวังอยู่ลึกๆ ในใจว่าดารากุมารีจะได้ครองมงกุฎราชินีแห่งยโสธร

เจ้าชายสิทธิประวัติชื่นชมความเฉลียวฉลาดเข้มแข็งเกินเด็กของดารากุมารี สิทธิประวัติต้องพึ่งพาเจ้าหญิงองค์น้อยอยู่เสมอ ดารากุมารีจึงกลายเป็นสิ่งสำคัญในชีวิตของสิทธิประวัติ แต่ดารากุมารีเบื่อหน่ายชีวิตในวัง จึงแอบหนีไปเที่ยวที่เกาะกลางทะเลสาบตามลำพัง และทำให้ได้พบกับอโณทัย เด็กหนุ่มผู้เข้มแข็งเด็ดเดี่ยว ทั้งคู่กลายเป็นเพื่อนสนิทที่รู้ใจกันอย่างรวดเร็ว โดยอโณทัยรู้แต่ว่าเธอชื่อ ดารา

อโณทัยได้เรียนทหารอย่างที่ตั้งใจไว้ ดารากุมารีดีใจมากที่เพื่อนรักได้เป็นทหาร อโณทัยแต่งตั้งเธอให้เป็นพลทหารลูกน้องเขา แต่ดาราบอกว่าเธอจะเป็นราชินีปกครองทหารต่างหาก อโณทัยจึงสัญญาตามประสาเด็กหนุ่มว่า วันใดที่เธอได้เป็นราชินี เขาจะเป็นผู้ค้ำจุนราชบัลลังก์ให้

ในวันที่อายุครบยี่สิบ ดารากุมารีได้รับการสถาปนาเป็นรัชทายาทอันดับสาม อโณทัยมาร่วมงานด้วยในฐานะทหารรักษาพระองค์จึงได้รู้ว่าความจริงว่า ดารา ที่เขาหลงรักนั้นแท้จริงเป็นเจ้าหญิงแห่งยโสธร ชายหนุ่มจึงทำตัวเหินห่าง ดารากุมารีพยายามง้อจนทำให้อโณทัยรู้ว่าเธอเป็นแค่ดาราของเขาเสมอ อโณทัยจึงมุ่งมั่นที่จะก้าวหน้าทางการงานให้ได้ เพื่อหวังให้ตัวเองคู่ควรกับเจ้าฟ้าหญิงทิพยรัตน์ดารากุมารี

แต่ปัญหาด้านการเมืองคืบคลานเข้ามา จนดารากุมารีไม่มีทางเลือกอื่นใด นอกจากแต่งงานกับสิทธิประวัติ อโณทัยแม้เสียใจแต่ก็ต้องทำใจว่านี่คือสิ่งที่ดีที่สุดสำหรับผู้หญิงที่เขารัก แต่สุดท้ายสิทธิประวัติล้มป่วยจนตายไป เพื่อปกป้องบัลลังก์ไม่ให้ตกเป็นของเขมรัฐ รัฐข้างเคียง ดารากุมารีจำใจรับตำแหน่งเจ้าหญิงรัชทายาท แม้มันจะทำให้เธอกับอโณทัยยิ่งห่างไกลกันมากขึ้นก็ตาม

ทางเขมรัฐพยายามทำทุกวิถีทางเพื่อสั่นคลอนบัลลังก์ของดารากุมารี สุดท้ายอโณทัยยอมสละชีวิตตัวเอง เพื่อไม่ให้ฝ่ายตรงข้ามมีประเด็นมาใส่ความดารากุมารีได้เรื่องความสัมพันธ์ของเขากับเธอ อโณทัยยินดีมอบหัวของเขาแก่ดารากุมารีเป็นเครื่องค้ำจุนบัลลังก์ดังคำที่เขาเคยให้สัญญากับเธอไว้ ในที่สุดดารากุมารีก็ได้ขึ้นครองราชย์ โดยแลกมาด้วยหัวของชายที่เธอรัก

“Leud Kattiya” (The Princess)

Story by Rose La Reign
Scriptwriting by Wanna Tangpasulert
Directing by San Srikaewlor
Produced by Exact Co., Ltd.

Casting
Piyada Arkaraseranee as Princess Tipparat Dara Kumaree
Jedsadaporn Poldee as Anotai
Krit Hirunyapruk as Prince Sittiprawat
Mayurin Pongpudpan as Princess Kaekaijarus

Synopsis
Yasotorn, a little city in valley, ruled by King & Queen who have a son named Prince Sittiprawat

The little princess, Princess Tipparat Dara Kumaree, the daughter of late King lived with her mother who try hard to train her to be a good princess. The former queen have her own ambition to see Princess Dara become a queen one day.

Prince Sittiprawat admired the smart and strength of Princess Dara. Many times that he have to depend on her and she became the most important thing in his life. But Princess Dara really boring about her life, so she escaped to an island in the lake by her own. Over there, she met Anotai, a determination boy, and they became good friends. Anotai just knew that she is “Dara”.

Anotai can entered the military as he wished. He allowed Dara to be his man, but she said she will be the queen and ruled him. So Anotai had his promise, if one day she become a queen, he will be protect her throne with his life.

On the 20th Birthday, Princess Dara have been ascend to be Crown Princess in 3rd rank. Anotai, as the royal guard, have to attend this ceremony and known that woman he loved is a princess. Since then, he tried to avoid her, but finally she can make him understand that she always be his “Dara”. Anotai tried hard to make himself deserve for his princess.

But politic issue came in their ways. Princess Dara had no choice, but have to married with Prince Sittiprawat. Even his heartbreaking, Anotai decided this is the best thing for woman he loved. But Prince Sittiprawat died by his illness. To protect her country from Kemarat, the neighbor country, Princess Dara have to ascend the throne as Crown Princess. It made her and Anotai even far away.

Kemarat didn’t give up. They try harder to destroy Princess Dara. At last, Anotai decided to sacrifice himself. Kemarat can’t touch Princess Dara in any way if he die. To secure Dara’s throne, Anotai willing to give his life to protect her as he had promised.



เนื้อเพลง : คู่ไม่ควร
อัลบั้ม : เพลงประกอบละคร เลือดขัตติยา
โดย ศิรศักดิ์ อิทธิพลพาณิชย์

“Undeserved Love”
OST. “Leud Kattiya” (The Princess)
By Sirasak Ittipolpanich

[English Lyric by ...Ladymoon...]


เหมือนเราอยู่คนละฟ้า อยู่คนละชั้น
รักเอยไม่เคยนึกฝัน จะบินลัดฟ้า
เพราะเธอคือดวงดาว
เพราะเราคนธรรมดา
แต่คืนนี้ดาวลอยจากฟ้าลงมา
ลงดินด้วยรัก ชโลมหัวใจ

Like we’re in different world, so far away.
I never dream this love can come across.
You’re like a shining star,
and I’m nobody.
But this night, star falling down,
filling my heart with your love.

รู้ตัวว่าดีไม่พร้อม ดั่งใจนึกฝัน
แม้เธอจะบอกรักฉัน แต่ใจฉันหาย
เพราะเธอนั้นสูงค่า
แต่ฉันมันไม่มีอะไร
แค่เพียงใจดวงเดียวเท่านี้ที่มีให้เธอ

I know I’m not perfect as I wish to be.
You said you love me, but I’m frustrated.
Because you’re so precious,
but I have nothing.
Just this heart that can give to you.

รักเธอเท่าไร รักเธอเท่าไร
ทุกลมหายใจก็ยังน้อยไปที่จะให้เธอ
เพราะมีน้อยไป นึกยังน้อยใจอยู่เสมอ
ใจที่มีแต่เธอก็ยังน้อยไป

How much I love you, how much I love you.
My every breath is not enough for you.
I always feel pitiful for can’t give you more than this.
Just my whole heart is not enough for you.


แสงดาวไม่เคยลับหายจากใจของฉัน
แล้วเธอผู้เป็นเหมือนฝันได้ยินฉันไหม
แม้มันจะมืดมนหม่นหมองมองไม่เห็นทางใด
แต่ในใจของฉันคนนี้ยังมีแสงดาว

The shining star never gone from my heart.
You, who always in my dream, can you hear me?
Even in the darkest, I can’t see anything,
but in my heart always have this shining star.


รักเธอเท่าไร รักเธอเท่าไร
ทุกลมหายใจก็ยังน้อยไปที่จะให้เธอ
เพราะมีน้อยไป นึกยังน้อยใจอยู่เสมอ
ใจที่มีแต่เธอก็ยังน้อยไป

How much I love you, how much I love you.
My every breath is not enough for you.
I always feel pitiful for can’t give you more than this.
Just my whole heart is not enough for you.


แสงดาวไม่เคยลับหายจากใจของฉัน
แล้วเธอผู้เป็นเหมือนฝันได้ยินฉันไหม
แม้มันจะมืดมนหม่นหมองมองไม่เห็นทางใด
แต่ในใจของฉันคนนี้ยังมีแสงดาว

The shining star never gone from my heart.
You, who always in my dream, can you hear me?
Even in the darkest, I can’t see anything,
But in my heart always have this shining star.

แต่ในใจของฉันคนนี้จะมีแต่เธอ เสมอไป

You’ll be in my heart…forever.



วันเสาร์ที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

Chatrichalerm Yuko l- Best Filmmaker Scene by Scene of Asia-Pacific 2008./ King Naresuan The Greart of Siam (Film)


SCENE BY SCENE PROFILES THE BEST OF ASIA-PACIFIC FILMMAKERS
Four new half-hour documentaries premiere October 4th 2008
Scene By Scene airs on CNN International on Oct 4-5; 11-12; 18-19; Nov 1-2:

CNN Scene by Scene Film of Asia Pacific (Chatrichalerm Yukol)


In the run-up to the 2008 Asia Pacific Screen Awards, CNN is to feature the power and reach of Asia-Pacific cinema in four half-hour Scene By Scene documentaries starting October 4th. Covering over 70 countries, one third of the earth and half of the world’s film output, Asia-Pacific cinema has never been more prominent and these programs celebrate its diversity and reach.

From New Zealand to India, Pakistan to Thailand and Australia to China, the documentaries travel across the Asia-Pacific to hear from the directors, producers and stars about the political, religious and cultural challenges they face making films. Some of the films and filmmakers profiled include:

Australia
Scene By Scene visits the set of Mao’s Last Dancer, the true story of renowned ballet dancer Li Cunxin, and hears from Academy Award nominated director and APSA International Jury President Bruce Beresford in addition to leading actors Joan Chen and Chi Cao.

New Zealand
Scene By Scene gets a rare tour of what’s become known as “Wellywood” - the state-of-the-art filmmaking empire established in the New Zealand capital, Wellington, by Academy Award winner Peter Jackson and business partner Richard Taylor. The best example of Weta Workshop may be Gollum from Lord of the Rings, but Taylor tells Scene By Scene the movie world is about to be stunned by James Cameron’s Avatar and Steven Spielberg and Jackson’s Tintin which are both in production in Weta.

India
Even bigger and more popular than Bollywood, Telugu cinema from southern India, known as Tollywood, features some of India’s brightest talents and biggest stars. Recent Oscar nominee Ashutosh Gowariker shares with Scene By Scene his experience working with Aishwarya Rai on a new film Jodhaa Akbar.

Thailand
Scene By Scene goes on location with Thailand’s royal filmmaker, Prince Chatrichalerm Yukol, as he shoots an epic period story involving thousands of extras and over 200 elephants. One of the best known and most successful Thai film directors, Chatri’s production Suriyothai has become the country’s highest grossing film earning more than $18M at the box office.

Russia
From just $65M ticket sales in 2001 to $500M in 2007, Scene By Scene takes an inside look at the world’s fastest growing film industry interviewing the renowned producer Alexandar Rodnyansky. He talks candidly about his fears of a return to authoritarianism and has been told personally by Russian Presidents Vladimir Putin and Dmitry Medvedev that there are limits to what filmmakers can do.

Jordan

Scene By Scene examines how Jordan’s new film industry is by royal command. Her Royal Highness, Princess Rym Al-Ali, a board member of the Royal Film Commission lays out the Royal Family’s vision to make Jordan a powerhouse of Middle Eastern cinema by attracting filmmakers from all over the region. Jordanian director Amin Matalqa also talks on his decision to return from Los Angeles to produce an award winning film Captain Abu Raed.

Asia Pacific Screen Awards


The Asia Pacific Screen Awards (APSA) is an international cultural initiative that acclaims, at a global level, the cinematic excellence and cultural diversity of the vast Asia-Pacific region. It brings together, in a unique collaboration, Atlanta-based CNN International, Paris-based UNESCO and FIAPF - the International Federation of Film Producers Associations. The Asia Pacific Screen Awards honour the works of filmmakers across a region covering more than 70 countries and areas, one third of the earth and half the world’s film output. The 2008 Asia Pacific Screen Awards ceremony will be held on November 11 on the Gold Coast, Queensland, Australia.


The Legend of King Naresuan



Directed by HSH Prince Chatrichalerm Yukol
Produced by Kunakorn Sethi
Written by HSH Prince Chatrichalerm Yukol / Sunait Chutintaranond
Starring : Wanchana Sawatdee / Chatchai Plengpanich / Intira Jaroenpura / Sorapong Chatree / Sompop Benjatikul
Music by Richard Harvey



Distributed by Prommitr International Production / Sahamongkol Film International

Release date(s) Part I
January 18, 2007
Part II
February 15, 2007
Part III Cancelled
Country Thailand
Language Thai
Budget 700 million baht



--------------------------





The Legend of King Naresuan (Thai : ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช, Tamnan Somdej Phra Naresuan) is a two-part 2007 Thai biographical historical drama film about King Naresuan the Great, who ruled Siam from 1590 until his death in 1605.

The films are directed by Chatrichalerm Yukol and are a followup to his 2003 film, The Legend of Suriyothai. Part I, Pegu's Hostage, was released on January 18, 2007. Part II, Reclaiming Sovereignty, was released on February 15, 2007. A third part was initially expected to be released on December 5, 2007, in celebration of King Bhumibol Adulyadej's 80th birthday, but that release date has been pushed back to later in 2008. Filming on part III is expected to begin in early 2008, with Tony Jaa among the featured actors.

Part I deals with Naresuan's boyhood, when he was taken hostage by Burmese King Bayinnaung to keep the vassal Ayutthaya Kingdom subservient. During this time, he was a novice Buddhist monk under the tutelage of a wise father-figure monk (Sorapong Chatree). Part II depicts Naresuan as a young adult prince, already a formidable military strategist, as he leads his army on exploits against breakaway kingdoms for King Bayinnaung's successor, King Nonthabureng, and eventually breaks away to declare sovereignty for Siam. Part III was to depict Naresuan's military and leadership skills and the expansion of the Siamese kingdom.

In production for more than three years, the project has an estimated budget of 700 million baht, making it the most expensive Thai film made.

As King of Fire, part II was selected as Thailand's submission to the 80th Academy Awards for Best Foreign Language Film.


Synopsis : Plot

Part I: Pegu's Hostage

The Pegu forces of King Bayinnaung overrun Phitsanulok, ruled by King Thamaracha, who had hoped for help of forces from Ayutthaya, but King Chakrapadi needed the troops to protect his own city. Bayinnaung demands that Prince Naresuan, the young son of Thamaracha, be given to him as a hostage to ensure Phitsanulok's loyalty. Bayinnaung then takes Naresuan on his military campaign to Ayutthaya, schooling the boy in the ways of war. Ayutthaya falls and becomes a vassal state of Pegu, with Thamaracha installed as its leader.
In Pegu, Naresuan is treated as a son of Bayinnaung and afforded all the comforts and respect due to a prince. He rides his horse into "Siamese town" near the palace, home to Siamese refugees of the war, and rescues another boy who is being chased by a mob because he stole some food. The unkempt street urchin does not know his name so the head monk, Khanchong, names him Bunting. Naresuan is then ordained as a novice monk in the Buddhist temple, and Bunting is made a temple boy. The two friends then befriend a temple girl, Manechan. The three children engage in various sorts of mischief, including taking part in cockfighting, despite the orders of Khanchong. Under Khanchong's tutelage, Naresuan learns more about martial arts and methods of war.
Bayinnaung, meanwhile, is continuing his campaign to consolidate control of Siam. Naresuan's older sister, Princess Supankulayanee is brought to Pegu to also serve as a consort to the king. With his sister now held hostage, the young Naresuan decides it is time for him to return to Siam. Already showing superior fighting skills, he attracts a band of loyal fellows and makes his escape.

Part II: Reclaiming Sovereignty

Many years have passed since Naresuan returned home to Siam. Now the ruler of Phitsanulok, the adult Prince Naresuan has attracted more followers to his army. His aide-de-camp is his boyhood friend, Bunting, now christened Lord Rachamanu. Naresuan's fighters include an African warrior and a Japanese samurai. Word is received in Ayutthaya that King Bayinnaung has died. Ayutthaya King Thamaracha believes it is important that he go and pay respects, but his son Naresuan, having been raised in Pegu and who regards Bayinnaung as a second father, convinces Thamaracha to let him go.
In Pegu, representatives of nearly all the kingdoms in the realm gather to pay respects to the departed Bayinnaung and also swear loyalty to the new king, Nonthabureng. Naresuan and Bunting are reunited with their childhood friend Manechan, who is now a lady in waiting to Princess Supankulayanee, Naresuan's sister, who was made a consort of Bayinnaung. Naresuan and Manechan share an immediate romantic connection.
One of the Pegu vassal states, Khang, did not send a representative, so Nonthabureng orders three armies to attack the kingdom. Naresuan takes his army into the fight. The first two armies fail in their attack of the impenetrable fortress of Khang, which is defended by fierce archers commanded by Princess Lurkin, daughter of the Khang king. Naresuan, held in reserve, finds a way to penetrate the city's rear entrance and storms the city. Bunting trades blows with Lurkin and is enchanted by the fierce warrior princess. He chases her down and persists with his romantic overtures until she surrenders to him.
Naresuan now must look for a way to return to Siam. Nonthabureng's son, Prince Upparaja, is jealous of Naresuan's military prowess and surmises that Naresuan is going to betray Pegu. He plots various attacks against Naresuan, including sending a band of headhunters to attack Naresuan.
At a river crossing back into Siam, Naresuan finds his forces under attack. With his army across, Naresuan is given a long rifle by his tutor, the monk Khanchong. Naresuan takes aim at the Pegu commander across the mile-wide river and fires, killing the man and firing the first shot in a declaration of independence for Siam.

Part III: ....Sword.....


Reception

Part I
King Naresuan Part I: Hongsawadee's Hostage, grossed more than 100 million baht on its opening weekend, despite some production problems with the film. After a world premiere screening on January 16, director Chatrichalerm Yukol continued to edit the film. On opening day, January 18, 2007, prints of the film were still not ready for wide distribution, and were delivered late in the day in Bangkok cinemas and screenings were canceled in the provinces.
Part I received mixed reviews in the local media. The Bangkok Post said the film was "torn between the need to be a serious historical movie and popular entertainment for the masses." But The Nation called it "a beautiful movie, planned to meticulous detail with the exotic designs and colors of the royal dresses, golden palaces and exotic temples." The Nation also hosted a forum for readers to comment on the film.



Part II

King Naresuan Part II: Reclamation of Sovereignty, premiered in a wide theatrical release in Thailand on February 15, 2007. The #1 film at the Thailand box office for several weeks, it earned US$7 million.
Critical reception was more favorable than the first installment. Kong Rithdee of the Bangkok Post said: "Surprise, surprise: Naresuan II is good fun. The pacing crisp, the acting passionate, the warfare intense."
Jeerawat Na Talang, columnist for The Nation, wrote on her blog: "This is simply the best Thai film I have seen in years ... Compared to the first one, the sequel is better such as in terms of cast and editing."
Submitted as King of Fire, Part II was Thailand's entry to the 80th Academy Awards for Best Foreign Language Film.

Part II was also the opening film at the 2007 Cinemanila International Film Festival, and both films were screened out of competition in the Thai Panorama section of the 2007 Bangkok International Film Festival.





HSH Prince Chatrichalerm Yukol

หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล / HSH Prince Chatrichalerm Yukol

HSH Prince Chatrichalerm Yukol /His Serene Highness Prince Chatrichalerm Yukol (Thai: หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล, born November 29, 1942) is a Thai film director, screenwriter and film producer. A prolific director since the 1970s, among his films is the 2001 historical epic, The Legend of Suriyothai. A member of the Thai royal family, his official royal title is Mom Chao, or M.C., the most junior title still considered royalty. He is theoretically 19th in line for the Thai throne. He is widely known by his nickname, Than Mui. For Suriyothai as well as his 2007 historical epic, King Naresuan, Chatrichalerm received the support of Queen Sirikit.
Four of his films have been submitted by Thailand for the Academy Award for Best Foreign Language Film: The Elephant Keeper, Song for Chao Phya, Daughter 2 and King of Fire.





หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล (29 พฤศจิกายน 2485 - ) ประสูติเมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2485 เป็นพระโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ และหม่อมอุบล ยุคล ณ อยุธยา รู้จักกันในนามลำลองว่า ท่านมุ้ย ในฐานะผู้กำกับภาพยนตร์ ผู้เขียนบท ผู้อำนวยการผลิตภาพยนตร์
หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล ทรงคุ้นเคยกับการสร้างภาพยนตร์ตั้งแต่เยาว์ เนื่องจากตามเสด็จพระบิดา และหม่อมมารดา ผู้บุกเบิกภาพยนตร์ไทย และก่อตั้งบริษัทละโว้ภาพยนตร์ ซึ่งผลิตภาพยนตร์เรื่องแรกเมื่อ พ.ศ. 2481
หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ทรงศึกษาชั้นมัธยมที่วชิราวุธวิทยาลัยและโรงเรียนมัธยมที่เมืองเมลเบิร์น ออสเตรเลีย ทรงสำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยยูซีแอลเอ เอกสาขาธรณีวิทยา และโท สาขาภาพยนตร์ เป็นเพื่อนร่วมห้องเรียนกับฟรานซิส ฟอร์ด คอปโปลา และโรมัน โปลันสกี้ ในระหว่างศึกษาชั้นปริญญาตรีทรงฝึกงานเป็นผู้ช่วยในทีมงานของ มีเรียน ซี. คูเปอร์ ผู้กำกับ และผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์เรื่อง ช้าง (1927) และ คิงคอง (1933)


ทรงเริ่มเขียนบท และกำกับละครโทรทัศน์ เรื่อง "หญิงก็มีหัวใจ" ในปี พ.ศ. 2501 ถวายพระบิดา จากนั้นทรงก่อตั้ง บริษัท พร้อมมิตรภาพยนตร์ (ตั้งชื่อตามชื่อซอยพร้อมมิตร ที่ตั้งของวังละโว้ วังของพระบิดา) มีผลงานกำกับละครโทรทัศน์ "ห้องสีชมพู" (2512) , "เงือกน้อย" (2515) , และ"หมอผี" (2516)
ทรงกำกับภาพยนตร์ "มันมากับความมืด" เป็นเรื่องแรก เมื่อ พ.ศ. 2514 และ ทรงได้รับรางวัลผู้กำกับภาพยนตร์ดีเด่น พ.ศ. 2516 จากเรื่องเขาชื่อกานต์ และส่งให้สรพงศ์ ชาตรี เป็นพระเอกยอดนิยมต่อมา




สมเด็จพระนเรศวร แห่งกรุงพระนครศรีอยุธยา
คัดลอก บทความมาจาก วารสาร e-lang วารสาร ที่ มีคุณค่า น่าแสวงหามาอ่าน
เพื่อเผยแผ่ พระเกียรติ ของสมเด็จพระนเรศวร มหาราช ซึ่ง ประชาชนทั่วไป อาจไม่เคยรับทราบข้อมูลนี้มาก่อน
พระองค์ดำ
โดย อยุทย์ สยามไชยา
ในการศึกษาประวัติศาสตร์สมัยกรุงศรีอยุธยานั้น นักประวัติศาสตร์จะต้องอาศัยเอกสารชั้นต้นภาษาต่างประเทศ อาทิ ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาดัทช์ และภาษาจีน ที่ชาวต่างประเทศเขียนไว้อ่านประกอบกับเอกสารของฝ่ายไทยด้วย ในบทความนี้เราจะได้ศึกษาบทอ่านภาษาอังกฤษ สั้นๆ

Peter Floris ได้เดินทางมากรุงพระนครศรีอยุธยาและบันทึกถึงกรุงพระนครศรีอยุธยา และพระองค์ดำ ซึ่งหมายถึงสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ไว้ ในที่นี้เราจะนำเสนอบทอ่านโดยคงตัวสะกดภาษาอังกฤษ ไว้ดังเดิม ทุกประการ... และจะนำเสนอตัวสะกดสมัยใหม่ไว้เพื่อประกอบการศึกษาด้วย... แต่ เราได้นำเสนอบทอ่านที่ปรับแก้แล้ว และบทแปล เบื้องต้น ไว้ด้วย
( ขอเสนอบทแปลก่อน นะคะ ส่วนบทอ่านตัวสะกดภาษาอังกฤษเดิม ขอตัดทิ้ง แต่นำบทอ่านที่ปรับแก้ มาเสนอนะคะ)

สยามเป็นชาติโบราณ และทรงอานุภาพยิ่งเสมอมา ทว่าภายหลังถูกพระเจ้าหงสาวดี (๑ )ปราบ และกลายเป็นเมืองออก ทว่าก็คงสภาพเช่นนั้นไม่นาน ด้วยพระเจ้าแผ่นดินพระองค์นี้ซึ่งกำลังจะสวรรคต มีพระราชโอรส 2 พระองค์ (๒) ซึ่งจำเริญวัย ณ ราชสำนักหงสาวดี แลทรงหลบกลับมาแต่นั้น สู่สยาม โดยที่พระองค์โตทรงพระนามเป็นภาษามลายูว่าราชา อาปิ หรือราชาไฟ ทว่าชาวปอร์ตุเกส และชนชาติอื่นๆ เรียกพระองค์ว่า พระองค์ ดำ

Siam is an ancient Kingdom and hath always been very mighty, but afterwards it hath been subdued by the King of Pegu, becoming a tributary unto him. But it continued not long in that estate, For this King, Dying, left issue 2 sons, which were brought up in the Kings court of Pegu; who flying from thence to Siam, whereas the eldest, called Raja Api, in the Malays language the Fiery King, but by the Portuguese and other nations the Black King….


๑ หมายถึง พระเจ้าบุเรงนอง
๒ .หมายถึงพระมหาธรรมราชา พระราชบิดาในสมเด็จพระนเรศวรและสมเด็จพระเอกาทศรถ
Pegu คือ พะโค คือหงสาวดี อย่าสับสนกับ Pagan ซึ่งหมายถึงเมืองพุกาม



สมเด็จพระนเรศวร และการระหว่างประเทศ ในภูมิภาคตะวันออก
โดย นามตระการ แก้วอรรณเรือง


เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ไทยที่สำคัญที่สุดเหตุการณ์หนึ่ง ซึ่งนักเรียนไทยระลึกถึงได้คือ
การยุทธ์ระหว่างสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระมหาอุปราชาแห่งกรุงหงสาวดี การยุทธ์ ครั้งนั้นจบลงด้วยชัยชนะของกรุงศรีอยุธยาและการปราชัยของหงสาวดี การเผชิญหน้าครั้งนี้ยังแสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นของจอมทัพแห่งราชอาณาจักรที่ยิ่งใหญ่ทั้งสองแห่งอุษาคเนย์ แม้เรื่องนี้จะเป็นที่นิยมในประวัติศาสตร์ไทย ทว่านักเรียนจำนวนน้อย ที่จะตระหนักว่าแท้ที่จริงแล้ว
สมเด็จพระนเรศวรทรงเป็นวีรกษัตริย์ที่พระเกียรติคุณแผ่ได้นั้น แผ่ขยายไปไกลเกินดินแดนสยามนัก และน้ำพระทัยอันหาญกล้านั้นเป็นที่เลื่องลือไปทั่ว บุรพทิศทีเดียว


One of the most important historical scenes recalled by Thai students in their studies is the story of the single combat between King Naresuan and the Viceroy of Hantawadi.The combat ended with a victory for Ayuthaya and a defeat for Hantawadi. The story of this confrontation depicts the determination of two courageous lords of two great Kingdoms of southeast Asia .Despite the popularity of this story in Thai history, however, few students realize that in actual fact, King Naresuan was respected far beyond the borders of Siam, and his brave heart was highly acknowledged throughout the East.


จดหมายเหตุ หมิ่งสื่อ ซึ่งเป็นจดหมายเหตุ ของราชวงศ์ หมิงได้บันทึกว่า ฮิเดโยชิ ส่งสาสน์ไปทั่วภูมิภาคตะวันออกให้ราชอาณาจักรและแว่นแคว้นต่างๆ อาทิ ต้าหมิง (จีนสมัยราชวงศ์หมิง) ริวกิว ลูซอน และกรุงศรีอยุธยาส่งบรรณาการ ครั้น พ.ศ.2135 ฮิเดโยชิก็ได้ส่งกำลังไปเกาหลีจริงๆ สาสน์ของ ฮิเดโยชิไม่ใช่เพียงคำกล่าวผ่าน ครั้งนั้นสมเด็จพระนเรศวรทรงครองสิริราชสมบัติแห่งกรุงศรีอยุธยา พระองค์ทรงส่งคณะฑูตแจ้ง ต้าหมิง ณ กรุงปักกิ่งว่า ทางกรุงศรีอยุธยาพร้อมจัดส่งทัพร่วมกับต้าหมิง กระหนาบตีทัพของ ฮิเดโยชิ เพื่อรั้งไม่ให้ ฮิเดโยชิ ขยายอำนาจ ทาง ต้าหมิงได้จัดงานเลี้ยงต้อนรับคณะทูตจากกรุงศรีอยุธยา เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ.2135


The Ming shi chronicles, which are the official record of Ming dynasty, report that Hideyoshi sent epistolary messages from Japan to Kingdoms and principalities such as Da Ming ( China in the Reign of the Ming) Ryugu, Luzon, and Ayuthaya demanding that they send tribute to him in 1592,Hideyoshi actually sent an army into Korea; his words were not just casual messages. In those days King Naresuan sat on the throne of Ayuthaya. In the same year, the King sent a mission to Beijing to inform Da Ming that Ayuthaya was ready to undertake a joint effort of outflank Hideyoshi ’ forces and to curb the latter ‘ s invasion attempts. On the 31st of October,1592. Da Ming welcomed the Ayuthaya mission with banquet.

ในระหว่างนี้ทัพหงสาวดียกมาตีกรุงศรีอยุธยาอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งครั้งนี้ เป็นการศึกครั้งเด็ดขาด และผลลัพธ์ก็แรงนัก ด้วยว่าสมเด็จพระนเรศวร ทรงได้ทำยุทธหัตถีชนะพระมหาอุปราชา มังสามเกียด เมื่อวันที่ 18 มกราคม 2136 กระนั้นก็ดีแม้องค์พระมหากษัตริย์สยามจักทรงมีน้ำพระทัยกล้าหาญนัก อุปราชแห่งมณฑลกวางตุ้ง และกวางสีก็ถวายความเห็นต่อพระจักรพรรดิแห่ง ต้าหมิงว่า ต้าหมิง เป็นราชอาณาจักรอันยิ่งใหญ่เกินกว่าจะต้องการการสนับสนุนจากกองกำลังต่างแดน สยามก็ตั้งอยู่ห่างไกล เกรงว่ายากที่จะส่งทัพมาช่วย ต้าหมิงได้ การร่วมศึกครั้งนั้นจึงมิได้เกิดขึ้น

Meanwhile, the Hongsawadi had marched upon Ayuthaya once again, with decisive and disastrous results. In single combat on elephant-back. King Naresuan defeated the Hantawadi Viceroy Mang Samkeit on the 18th of January,1593. Despite the valor of the Siamese king, however, the Governor of Guang Dong and Guang Xi counseled the Chinese. Emperor that Da Ming was too great a kingdom to require the support of foreign troops. Siam, being so very distant, could hardly send an army to the aid of Da Ming. Therefore, the plan for a joint military effort was never realized.

การเสนอเตรีมทัพเพื่อร่วมรบพร้อมอาณาจักร ต้าหมิงครั้งนั้นแสดงให้เห็นว่า สมเด็จพระนเรศวร นั้นทรงมีน้ำพระทัยกล้าหาญ เผยถึงวิสัยทัศน์อันยิ่งใหญ่นัก กระนั้นเหตุการณ์ครั้งนี้มิได้ปรากฏในตำราเรียนทั่วไป ผู้สนใจอาจศึกษารายละเอียด ได้ในหนังสือ หมิงสื่อ

Although King Naresuan’s offer to join forces with the Middle Kingdom gives insight into his imaginative boldness, gallantry and vision, this story is seldom mentioned in textbooks. Those interested should look under Ming shi for further details.

คุณ นามตระการ แก้วอรรณเรือง
ได้รับ CPE (คะแนนดีมาก เคมบริดจ์ ) ซึ่งเป็นคุณวุฒิทางด้านความชาญภาษาสูงสุดที่มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์มอบให้คนต่างชาติ ปัจจุบัน เป็นนักเขียน นักแปล และล่ามการประชุมระหว่างประเทศ
และขอลอกข้อความ หนังสือ ภาพประวัติศาสตร์ชาติไทย เขียน และบรรยายด้วยภาพวาดลายเส้นขาวดำ ของ คุณเหม เวชกร เป็นหนังสือของ กรมมหาดไทย เล่ม1 พิมพ์เมื่อ กันยายนปี พ.ศ. 2501 เล่ม 2 พิมพ์ พฤศจิกายน ปี 2504

พระองค์มีแต่จัตุรังบาทกับทหารรักษาพระองค์เท่านั้นในท่ามกลางวงล้อมของพม่า
ด้วย วิสัยอันกล้าหาญแห่งพระองค์ ทั้งเชาวน์อันว่องไวดังสายฟ้า พระองค์รู้ว่า ศึกที่เป็นรองอยู่จะกลับเหนือได้ก็ตรงที่ว่าจะท้าสู้รบกันตัวต่อตัวกับพระมหาอุปราชา เพื่อยับยั้งไม่ให้ทหารพม่ารุมล้อมรบพระองค์ได้
คิดแล้วพระองค์จึงทรงไสช้างเข้าไปประชิด และร้องไปอย่างคุ้นเคยว่า “ เจ้าพี่จะยืนช้างอยู่ไยใต้ร่มไม้ เชิญเสด็จมาทำยุทธหัตถีกันให้เป็นเกียรติของกษัตริย์เถิด เพราะต่อไปกษัตริย์รุ่นหลังจะสามารถดังเราก็หาไม่ “
พระมหาอุปราชา ก็หยิ่งในเกียรติของกษัตริย์ แม้พระทัยแท้จะคร้ามเกรงฝีมือสมเด็จพระนเรศวรอยู่มาก แต่ด้วยมานะแห่งกษัตริย์ พระองค์ ทรงสั่งทหารมิให้รุมรบ แล้วไสช้างออกชน กับสมเด็จพระนเรศวร ทันทีนั้นเอง ฝ่ายพระคชาธารพระยาไชยานุภาพ ของจอมทัพไทย กำลังตกมัน ก็โถมแทงทันทีไม่ยับยั้ง จึงเสียทีพลายพัทธกอ ซึ่งได้ล่าง และแบกรุนเอาพระยาไชยานุภาพเบนเสียหลักแทบจะขวางตัวเป็นการเสียเปรียบเชิงยุทธ

พระมหาอุปราชาเห็นได้เชิง จึงเอาพระแสงของ้าวจ้วงฟันสมเด็จพระนเรศวรเต็มเหนี่ยว จอมทัพไทยทรงเอี้ยวพระองค์หลบ พระแสงง้าวจึงถูกปีกพระมาลาหนัง ปีกพระมาลาจึงขาดแหว่งไป (จากนั้นมาจึงเรียกพระมาลานี้ว่า พระมาลาเบี่ยง)

ต่อมพระไชยานุภาพสะบัดหลุด และกลับได้อยู่ล่างบ้าง จึงแบกรุนพลายพัทธกอ เบนหันข้าง สมเด็จพระนเรศวรจึงจ้วงฟันด้วยพระแสงง้าว อย่างสายฟ้าแลบ พระมหาอุปราชาหลบไม่ทันจึงโดนง้าวเข้าที่ไหล่ขาด ซบพระกายสิ้นพระชนม์อยู่กับคอช้าง

พระมหาอุปราชา สิ้นพระชนม์ เพราะเลือดขัตติยะ ของกษัตริย์ นั่นเอง
เป็นหนังสือ ที่คุณพ่อ ซื้อให้ ด.ญ.อมร เมื่อ 50 ปีมาแล้ว
แล้วก็ บทความของภาพยนตร์ ข้างบนเป็นของคุณ roytavan ดิฉัน ทำได้ ก็เพียง คัดลอก บทความดีดี ของผู้ทรงคุณวุฒิ มาเผยแพร่ต่อเท่านั้นเอง

Source :

http://en.wikipedia.org/wiki/King_Naresuan_(film)

http://www.kingnaresuanmovie.com/
The Legend of King Naresuan Part I at the Internet Movie Database
The Legend of King Naresuan Part II at the Internet Movie Database
Synopsis at MovieSeer
(Thai) Production photos at Deknang
The star of Siam's history at Asia Times Online

http://www.sook-ura.com/ppu/PPU_Cinephile_470414.html
http://www.asiapacificscreenawards.com/multimedia/videos/scene_by_scene_2008/page2

...เลือดขัตติยา...ความงดงามแห่งค่าของ "ความรัก"...



เลือดขัตติยา
บทประพันธ์ของ ลักษณวดี
ซึ่งก็คือ ทมยันตี โรสราเรน และ กนกเรขา

ความรักของผู้บัญชาการทหาร อโณทัย และเจ้าหญิงรัชทายาท ทิพยรัตน์ดารากุมารี
อโณทัยได้รู้จัก "ดารา " ที่ซุกซนน่ารักเป็นนักหนา ก่อนที่จะได้รู้ว่า ดารา ก็คือเจ้าหญิงรัชทายาท




ดาว
..พร่างพราววาววับจรัสไข
สูงเกินกว่าหัตถ์ของผู้ใด
ที่จะได้ไขว่าคว้ามาชมเชย....


เวลาใดที่ดวงอาทิตย์ “ อโณทัย” ขึ้นมา เหล่าดวงดาราก็จะหลีกลี้สิ้นแสงหายไปจนสิ้น



เจ้าฟ้าหญิงทิพยรัตน์ดารากุมารี :ดวงอาทิตย์ยามที่สวยที่สุดมีอยู่สองเวลาเท่านั้นคือ ตอนขึ้นและตอนตกเพราะรัศมีอ่อนเย็นตา แต่ยิ่งโคจรสูงขึ้นเท่าไหร่ก็ยิ่งเปล่งแสงแรงร้อนรุมขึ้นทุกที เหมือนเธอแหละอโณทัย
อโณทัย :กระหม่อมเป็นได้เพียงดวงอาทิตย์แรกอุษาเท่านั้นเอง




ทิพยรัตน์ดารากุมารี : เปล่า...ตอนนี้เธอกำลังโคจรสูงขึ้นทุกทีต่างหาก ยิ่งเธออยู่สูงเท่าไหร่ เปล่งรัศมีออกมาเพียงไร จะได้ทำเพียงเผาทุกสิ่งทุกอย่างให้วอดวาย
อโณทัย “ แต่ถ้าจะถึงยามสนธยา เพื่อให้ดวงดาวได้จำรัสอยู่บนท้องฟ้าแล้ว กระหม่อมยินดี จะตกโดยเร็วที่สุด

เมื่อใด หากรุ่งอโณทัย ดารามักจะหายไปเสมอ



ทิพยรัตน์ดารา : เขากับฉันต่างกันนักหนา เขาเป็นผู้หญิงที่อิสระที่จะทำอะไรได้ดังใจปรารถนา แต่ฉันคือ เจ้าหญิงรัชทายาท ที่มีมงกุฎเป็นเครื่องบังคับ
อโณทัย : สำหรับกระหม่อม รู้จักเจ้าหญิงรัชทายาทในฐานะที่กระหม่อมเป็นข้าทหาร แต่กับดารา..เธอเป็นดวงประทีปในใจกระหม่อมตลอดมา กระหม่อมยอมเสียหัวเพื่อค้ำจุนราชบัลลังก์ให้เจ้าหญิงรัชทายาทได้ แต่กับดารากระหม่อมเชือดหัวใจให้เขาได้




ทิพยรัตน์ดารา :ถ้าเขารู้ เขาคงปลื้มใจ นะอโณทัย
อโณทัย : แต่กระหม่อมไม่หวังให้เขารู้ ถ้ากระหม่อมรักอะไร กระหม่อมยินดีรัก โดยไม่หวังได้ความรักนั้นตอบแทน...





ดารา..สูงนักหนา..สูงสุดมือคว้า..
ในเลือดขัตติยา ดาราอยู่สูงนักหนา สูงสุดมือคว้า สำหรับ อโณทัย

ไม่ว่า ทิพยรัตน์ดารา ดั่งจะเป็น

"...กุหลาบงามยามบาน
แย้มกลีบตระการ
หรือคือ ดาว.."พร่างพราววาววับจรัสไข..."

ทิพยรัตนดารา ล้วนสูงสุดมือคว้าไปเสียสิ้น







ตามกฎธรรมชาติ เมื่อไหร่มีดารา ย่อมไม่มีอโณทัย


เจ้าหญิงรัชทายาททิพยรัตนดาราทรงลงพระนามในคำพิพากษา และ ประหารอโณทัย


แต่เมื่อดวงอาทิตย์ดวงนั้นลับขอบฟ้าไป สิ่งที่เหลือทิ้งไว้ คือความมืดมิดและเยือกเย็นตลอดกาล และน้ำเสียงที่ปลอบโยนราวพี่ชายกำลังปลอบน้องน้อยว่า “ อย่าร้องไห้...ดารา...อย่าร้องไห้ ...”





เรื่องย่อ เลือดขัตติยา

เลือดขัตติยา จากปลายปากกา ของลักษณวดี

เลือดขัตติยา
ความงดงามแห่งค่า...ของความรัก...

อโณทัย ผู้ที่ มีรักที่“ รักเพราะรัก รักเพราะรู้ว่าตัวเองรัก... รักอย่างที่ปรารถนาให้คนที่รักได้สถิตอยู่ในที่อันสูงสุด มีความสุขสูงเด่นกว่าคนทั้งปวง รักอย่างไม่อยากให้หัวใจของเธอมีความรู้สึกอื่นๆมาแผ้วพาน เหมือนรักรูปภาพที่จับต้องไม่ได้ ได้แต่เฝ้ามองดูชื่นชมแต่เพียงประการเดียวไม่ได้ปรารถนาอะไรเป็นการตอบแทน



อโณทัย นายช่างผู้ก่อภูเขา เมื่อสำเร็จเรียบร้อย ก็มีสิทธิเพียงชะแง้มองอยู่เพียงตีนเขา

ทิพยรัตน์ดารา : ถ้าฉันเป็นธรรมดาสามัญชน ฉันจะระวังรักษาหัวใครก็ได้ แต่ในฐานะเจ้าหญิงรัชทายาท ฉันต้องใช้หัวทุกคนค้ำจุนราชบัลลังก์ เพราะแม้ฉันจะตายไป แต่ราชบัลลังก์ต้องอยู่ ฉันต้องรักษาไว้ให้คนข้างหลัง ไม่ใช่เพื่อตัวเอง



ทิพยรัตน์ดารา จะทรงเลือกอย่างไร

ระหว่างความรักในดวงหฤทัย กับ ความมั่นคงของราชบัลลังก์ยโสธร
แต่ด้วยเลือดขัตติยา เจ้าหญิงดาราจำต้องเลือก ภาระหน้าที่ต่อราชบัลลังก์

เรื่องย่อ

เจ้าหญิงทิพยรัตน์ดารากุมารี ทรงเป็นพระธิดา ของเจ้าหลวงพระองค์ก่อนของแคว้นยโสธร องค์เจ้าหลวงองค์ปัจจุบันทรงเป็นพระอนุชา และมีพระโอรส คือเจ้าชายสิทธิประวัติ และเป็นเจ้าชาย รัชทายาทแห่งแคว้นยโสธร ทรงรักเจ้าหญิงทิพยรัตน์ดารา รัชทายาทลำดับสามของแคว้นยโสธร และต่อได้เป็นพระคู่หมั้นกัน

เลือดขัตติยา (The Princess)


เจ้าหญิงพระองค์น้อยดาราทรงซุกซน เฉลียวฉลาด ร่าเริง แจ่มใส ไม่ถือองค์ แอบหนีไปเที่ยว ที่ริมน้ำ ระหว่างทางในสวน ได้พบแหวนทองในปากกบที่บ่อน้ำพุ แหวนวงใหญ่ไปสำหรับเจ้าหญิง ทรงเก็บไว้ เมื่อไปที่เกาะกลางน้ำ ได้พบ อโณทัย ซึ่งถูกชะตากัน คบเป็นเพื่อนเล่น อโณทัย ไม่รู้ว่า เป็นเจ้าหญิงรัชทายาท และเรียก ทิพยรัตน์ดารากุมารี เพียง ดารา
ดาราให้แหวนกับอโณทัย ซึ่งใส่ได้เกือบพอดีกับนิ้วกลางของอโณทัย




ทั้งสองนัดมาเที่ยวเล่นกันเสมอ และชอบที่พายเรือเล่น บางครั้งก็เล่นในป่าละเมาะ

ดาราเป็นราชินี ส่วน อโณทัย เป็นผู้บัญชาการทหาร
อโณทัย ทำมงกุฎดอกไม้ให้ดารา
อโณทัย บอกดาราว่า ถ้าเราได้เป็นทหาร เราจะเลือกดาราเป็นราชินี

วันเวลาผ่านไป

อโณทัย เข้าโรงเรียนนายทหาร และเป็นทหารองครักษ์ ของเจ้าชายรัชทายาท และได้รู้ว่า ดาราคือใคร
ต่อมาได้เป็น ผู้บัญชาการทหาร

พระราชเทวีพระมารดา หาครูพิเศษมาสอน รัฐศาสตร์การปกครองกับเจ้าหญิงทิพยรัตน์ดารา
และครูคือ พ่อของอโณทัย นั่นเอง



อโณทัย วางแผน กับ เสนาบดีของยโสธร ให้ เจ้าหญิงแขไขที่จะต้องเป็นคู่หมั้นกับเจ้าชายรัชทายาท สิทธิประวัติ ถูกแคว้นเขมรัฐเลือกเป็นราชินี ด้วยเหตุผลการเมือง ทั้งที่เจ้าชายเขมรัฐทรงพอพระทัยเจ้าหญิงทิพยรัตน์ ทำให้เจ้าชาย รัชทายาทได้หมั้นกับเจ้าหญิงทิพยรัตน์ดารา

แต่อโณทัย ต้องการให้ เจ้าหญิงทิพยรัตน์ ได้นั่งบัลลังก์สูงสุดกว่า บัลลังก์ของยโสธร นั่นคือบัลลังก์ ของ สมาพันธรัฐ



อโณทัย: นานมาแล้วเด็กชายคนหนึ่งได้สัญญากับเด็กหญิงคนหนึ่งว่า ถ้าเด็กหญิงคนนั้นจะเป็นพระราชินี เขาจะเป็นทหารที่ยอมถวายชีวิตไว้ใต้เบื้องพระยุคลบาท
เจ้าหญิงทิพยรัตน์ : เธอไม่อยากให้ฉันเป็นเพียง ดารา หรือ
อโณทัย: สันดานของผู้ชายทุกคนเหมือนกัน ถ้าเขาไม่วางสิ่งที่เขา ..บูชา..ไว้ในที่สูงสุด ก็จะลากลงมาไว้กับตัวเอง กระหม่อมถวายสัญญาว่า มงกุฎราชินีที่ทรงสวมจะไม่ได้หมายถึงความเป็นเอกในแคว้นใดแคว้นหนึ่ง แต่... กระหม่อมจะเอาชีวิตตัวเองเป็นราชพลีสำหรับ “เพชรยอดมงกุฎ ของทุกแคว้นพระเจ้าค่ะ

อโณทัย มุ่งมั่น กับความตั้งใจ จน บิดา ถามว่า : ลูกคิดจะก่อปราสาทเชียวหรือ เราอาจจะก่อปราสาทได้ แต่ที่นั่นไม่ใช่ที่สำหรับเราอยู่หรอกนะ
อโณทัย : ผมก่อปราสาทขึ้นมาก็เพื่อ “ ใครคนหนึ่ง”ที่เหมาะสมอยู่ แต่ไม่จำเป็นที่ผมจะอาจเอื้อมขึ้นไปอยู่เองหรอกครับพ่อ
ไม่มีใครก่อปราสาทได้คนเดียวหรอกครับ แต่คนบงการต้องมีคนเดียว

พ่อ:คุณลักษณะของคนที่จะเป็นใหญ่ ไม่ใช่แค่มีอำนาจอยู่ในมือเท่านั้น ต้องรู้ว่าตัวเองจะใช้อำนาจอย่างไรถูก อำนาจไม่ใช่อยู่ที่อาวุธ แต่อำนาจคือ คน การใช้คน จึงเป็นศิลปะที่ผู้เป็นใหญ่ต้องเรียนอย่างไม่มีวันจบสิ้น ถ้าลูกจะ”บงการ “ให้คนก่อปราสาท ลูกต้องรู้ว่า คนอย่างไหนจะใช้เป็นรากฐาน และคนอย่างไหนใช้เป็นร่างร้าน สำหรับจะรื้อทิ้งในวันหน้า ก่อนที่จะ”ก่อ”สิ่งใด ลูกต้องแน่ใจว่าจะใช้สำหรับประโยชน์สิ่งใด และอย่าแปรความคิดเป็นอันขาด

อโณทัย : พ่อห่วงในเรื่องที่ผมจะสร้างปราสาทหรือกลัวผมจะนั่งปราสาทกันแน่
พ่อ : เพราะพ่อรู้จักลูกดีน่ะสิ อโณทัย...คนเราอาจจะมีความมุ่งหมายพยายามอย่างแรงกล้า แต่ต้องรู้จักตัวเอง...
.........



อโณทัย: ถ้าผมพลาดจากที่หนึ่งก็จะต้องไปอยู่อีกที่หนึ่ง แต่ตัวผมรู้ดีกว่านั้น..หากผมพลาด...บางที ผมอาจต้องชดใช้ด้วยชีวิตของผมทีเดียว ผมจะก่อปราสาทอย่างที่พ่อว่า แต่....ปราสาทของผม เพื่อ...พระราชินีของยโสธรมากกว่าใครอื่น

พ่อ : แต่การที่นักการเมืองทำอะไรเพื่อตัวบุคคลนั้น ไม่มีประโยชน์อะไรลูก นักการเมืองที่ดีจะต้องระลึกถึงหมู่คณะไว้เสมอ
สักวันหนึ่ง ...อโณทัย...ลูกจะรู้ว่า มนุษย์เรามีสิ่งอื่นสำคัญกว่าหัวใจตัวเอง

อโณทัย : ไม่หรอกครับพ่อ สำหรับผม หัวใจมาก่อน จากนั้นอะไรจะเกิดขึ้นก็ช่าง





อโณทัย พาเจ้าหญิง ไปดู ภูเขาและน้ำตกจำลอง

เจ้าหญิงทรงนึกถึงสถานที่เคยเที่ยวเล่นสนุกสนานกับอโณทัยในวัยเด็ก
อโณทัย ขอให้เจ้าหญิง ลืมทั้งหมดเสีย” มนุษย์เราบางครั้งก็ต้องทำเป็นลืมบางอย่าง
ทำเป็นลืม...เพราะ...ความจริงแล้ว เราจำได้เสมอ จำได้..
สักวันหนึ่ง ฝ่าบาทจะได้ประทับอยู่บนที่สูง เช่นนั้น สักวันหนึ่งคงไม่นาน
เจ้าหญิง : มันจะมีประโยชน์อะไร..อโณทัย..ที่จะให้ฉันขึ้นไปนั่งอยู่บนนั้นแล้วก้มลงมาดูทุกคนข้างล่าง
อโณทัย : ก็เพราะมีคนอยู่ไม่กี่คนน่ะซิพระเจ้าค่ะ ที่จะทำได้ กระหม่อมถึงอยากให้คน คนนั้นเป็นฝ่าบาท ตราบใดที่กระหม่อมอยู่ที่ฐานราชบัลลังก์ จะไม่มีอะไรมาทำให้ไหวสะท้านได้เป็นอันขาด



เจ้าหญิงเห็นแหวนที่ ดาราให้อโณทัยไว้ในวัยเด็ก บัดนี้อโณทัยก็ยังสวมไว้
อโณทัย กราบทูลว่า : กระหม่อมตั้งใจไว้ว่า แม้ยามตายก็จะเอาติดตัวไปด้วย.. นอกจาก...คนที่ให้..เขาทวงคืน..ซึ่งเท่ากับว่ายื่นความตายให้กระหม่อมเหมือนกัน เพราะเท่ากับเขาบอกกระหม่อมว่า ระหว่างเรา ไม่เหลืออะไรอีกแล้ว..

เจ้าชายรัชทายาทที่ทรงอ่อนแอประชวรและสิ้นพระชนม์

ยโสธร ต้องประกาศแต่งตั้งเจ้าหญิงทิพยรัตน์ดารากุมารี รัชทายาทอันดับสาม ขึ้น เป็นเจ้าหญิงรัชทายาท กลางดึก ตัดหน้า เจ้าหญิงแขไข รัชทายาทลำดับสองที่ไปเป็นราชินีของแคว้นเขมรัฐ และกำลังเร่งเดินทางกลับมาทวงสิทธิ์

เกิดความวุ่นวายกับคลื่นใต้น้ำ ที่เจ้าหญิงแขไขก่อกวนเพื่อทำลายตำแหน่งของเจ้าหญิงทิพยรัตน์ดารา และทวงคืนตำแหน่ง เจ้าหญิงรัชทายาท

ในขณะ ที่มีการประชุมสมาพันธรัฐ เพื่อสรรหา ผู้นำสมาพันธรัฐ
เจ้าหญิงทิพยรัตน์ได้รับความชื่นชมยอมรับในพระปรีชาสามารถ ของการเป็นราชินี ในที่ประชุมผู้นำแคว้นต่างๆ

สุดท้าย ....

อโณทัย ยอมเอาศีรษะของตนเองเป็นเดิมพัน เปิดโปงเจ้าหญิงแขไข ที่เข้ามาก่อความวุ่นวายในยโสธร
เจ้าหญิง ทิพยรัตน์ ต้องทรงลงพระนาม พิพากษา ความผิดของอโณทัย และ ประหารชีวิตของ อโณทัย ในวัน พระราชพิธี แต่งตั้งราชินีแห่งสมาพันธรัฐ ตามที่ อโณทัย เลือกทางเดินของตนเอง ในการ ค้ำจุน ความมั่นคงของบัลลังก์ราชินี สมาพันธรัฐ ที่มีราชินี อันทรงความเที่ยงธรรม ไม่เห็นแก่ผู้ใด ในการกระทำผิด ของ อโณทัย
เป็น การสร้างความเกรงกลัว
เสริมบารมี ของ ราชินี ทิพยรัตน์ดารา

พ่อของอโณทัยกราบทูลเจ้าหญิงทิพยรัตน์ดาราว่า

พ่อของอโณทัย : เมื่อจะทรงเป็นผู้ครองแคว้น ก็ไม่ควรคำนึงถึงหัวคนเพียงคนเดียวอีกสืบไป และถ้าหัวคนเพียงคนเดียวนั้น จะสามารถค้ำจุนฐานะทางบัลลังก์ไว้ได้ ไม่ว่าหัวนั้นจะเป็นหัวใคร ทรงโปรดมากน้อยแค่ไหนก็ควรจะทรงยอมเสีย นักการเมืองที่ดีจะคิดอยู่สองประการ คือทำอย่างไรประเทศชาติถึงจะอยู่รอด และทำอย่างไรตัวเองถึงจะอยู่รอด ไม่มีหรอกพระเจ้าค่ะที่ทุกคนจะอยู่รอดหมดแล้วแว่นแคว้นจะดีตามไปด้วย ทรงได้และทรงเสียย่อมมาคู่กันเสมอ

ในฐานะพ่อคนกระหม่อมย่อมห่วงลูก ในฐานะของครูกระหม่อมย่อมห่วงลูกศิษย์แต่ในฐานะของคน ยโสธร กระหม่อมไม่ห่วงใครเลย นอกจากว่ายโสธรจะอยู่รอด หรือรุ่งเรืองแค่ไหน

เจ้าหญิง : ต่อไปหญิงจะทำอย่างที่ครูสอน ในฐานะของผู้ครองแคว้น ถ้า...หัวใครจะทำให้ ยโสธรรุ่งเรือง หญิงจะใช้หัวนั้น แม้จะเป็นหัวของตัวหญิงเองหญิงก็จะยอม....


เจ้าหญิง ตรัส กับนางข้าหลวงผกาว่า

ที่หมู่ปราสาทราชมณเฑียร ที่ที่ใครอิจฉานัก จะมีใครรู้บ้างไหมว่าเราต้องแบกภาระไว้หนักเท่าใด คนที่อยู่ที่นั่น เหนื่อยไม่ได้ โกรธใครไม่ได้ และทำอะไรตามใจไม่ได้ มีสภาพเป็นเสาศิลา ไม่สะดุ้งสะเทือนหวั่นไหวตลอดมา ต้องไม่ร้องไห้ให้ใครเห็น ต้องฉลาดเสมอ และเที่ยงธรรม ฉันถูกลิดรอนสิทธิ์ในสิ่งที่คนอื่นเขามีมาตลอด
คนที่เลิศที่สุดในแผ่นดิน แปลได้อย่างเดียวคือ คนที่ไม่สามารถทำอะไรได้อย่างทุกคนในแผ่นดิน
หน้าที่ฉันเป็นพระเจ้าแผ่นดิน ฉะนั้นต้องคิดถึงแต่เรื่องของแผ่นดินมากกว่าตัวเอง

องค์เจ้าหลวง ( พระเจ้าอาของเจ้าหญิง)
ดารา...อารู้ว่าภาระที่หลานแบกอยู่นั้นหนัก และภาระนี้แหละที่ทำให้เราต้องวางตัวเปรียบประดุจคันชั่งที่ไม่สามารถโอนเอียงไปทางหนึ่งทางใดได้ น้ำหนักของมงกุฎที่กดอยู่บนหัวเรา ทำให้เราต้องตั้งตัวตรงพร้อมกับรำลึกไว้ว่า หน้าที่ของเจ้าแผ่นดินคือสอดส่ายสายตาดูคนให้ทั่วแผ่นดิน ยกเว้นตัวเอง


เลือดขัตติยา (The Princess): Don't to Cry



ดารา ไปเยี่ยม อโณทัย ก่อนวันประหาร
อโณทัย : อย่าร้องไห้...ดารา... ฟังนะ ...ดารา.. การตายของคนคนหนึ่งมิได้แปลว่าทุกอย่างจะจบสิ้นลงไปด้วย การตายเป็นเพียงการนอนหลับอันยาวนาน และคนที่นอนหลับคนนั้นขอให้สัญญาว่า เขาจะคอย..คอย..จนกว่าคนที่เขาฝันถึง จะได้มานอนเคียงข้าง เพื่อร่วมอยู่ในความฝันอันเดียวกัน คนที่จากไป ไม่ได้แสดงว่าเขาเข้มแข็งหรือเสียสละอะไรนักหรอก เพราะเขาปฎิบัติภารกิจสุดท้าย...แวบเดียว.. แทบไม่ทันรู้สึกอะไรเสียด้วยซ้ำ แล้วเขาก็จะได้นอนอย่างแสนสุข แต่คนที่อยู่ข้างหลังสิ ต้องเป็นคนที่เข้มแข็ง เสียสละทั้งกำลังกายและกำลังใจ จึงจะยืดหยัดอยู่ได้ เพราะฉะนั้น..อย่าร้องไห้ เพราะน้ำตาจะทำให้กำลังใจมลายหายไปได้เสมอ... ร้องไห้ทำไม ..โง่จัง
ก็ไหนเคยคุยว่าอยากเป็นราชินี และอโณทัยก็เคยสัญญาว่า จะทำให้เด็กหญิงดาราได้เป็นพระราชินีให้ได้

ดารา : เอาตำแหน่งนี้คืนไปเถอะ ฉันไม่เคยอยากได้เลย
อโณทัย : วันคืนไม่เคยถอยหลัง นอกจากก้าวไปข้างหน้า
อโณทัย : หัวแรกที่เจ้าหญิงรัชทายาททรงลงพระนามประหารได้ ย่อมเป็นเครื่องหมายให้คนทั้งประเทศรู้ว่า พระราชินีในอนาคตของเขาจะไม่ทรงลังเลอีกเลยสำหรับหัวอื่นๆ ที่ทำผิด เพราะคนเราถ้าตัดหัวคนที่....คุ้นเคยกันมาเป็นอย่างยิ่งได้ คนอื่นๆย่อมหวาดเกรงมากกว่าปกติ

ดารา: ไม่ใช่แค่คนที่เพียงแต่ “คนคุ้นเคย” หรอกอโณทัย แต่เป็น หัวของคนที่ดารารักเท่ากับตัวเองทีเดียว

อโณทัย : ดารา ช่วยไปกราบทูลเจ้าหญิงรัชทายาททีเถอะว่า หากจะเห็นแก่ความจงรักภักดีของคนคนหนึ่งแล้วขอให้ประหารเขาในเวลา พระราชพิธีสถาปนาเป็นราชินี เพราะเขาจะได้รู้สึกว่า หัวของเขาได้ค้ำจุนราชบัลลังก์ไว้อย่างแท้จริง

ดารา : ถ้าจะทำให้คนคนนั้นรู้สึกอย่างที่เขาต้องการ ฉันสัญญาแทนเจ้าหญิงรัชทายาทได้เลยว่า เขา...จะถูกประหารในเวลานั้น ฉันจะไม่มีวันเหลือน้ำตาไว้ให้ใครอีก ถูกอย่างเธอว่า ถ้าเราเคยทำให้หัวของคนที่เรารักหลุดจากบ่าได้ เราย่อมไม่อาทรต่อหัวใคร แม้แต่หัวตัวเอง

อโณทัย : ไปเถอะ..เราจะจดจำภาพนี้ไว้ พร้อมด้วยความหวังว่า พรุ่งนี้...เราจะได้พบกันอีก แม้ว่า...พรุ่งนี้มันจะมีหรือไม่ก็ตาม แต่ก็จะทำให้หัวใจเรามีความหวังหล่อเลี้ยง ไปเถอะ...ดารา..แล้วอย่ามาอีก เพราะจะทำให้หัวใจของฉันหมดความสุข เนื่องจากจะพะวงห่วงหาเธอเรื่อยไป
“ ลาก่อน ..ดารา...หากฉันได้เวลา..นอนหลับ ฉันจะขอร้องให้เจ้าหน้าที่ให้วางมือที่สวมแหวนวงนี้ไว้แนบหัวใจ เพื่อจะได้เป็นเครื่องหมายว่า อโณทัยไม่เคยมีใครอื่น นอกจาก.... เธอคนเดียวเท่านั้น ลาก่อน ทิพยรัตน์ดารากุมารี



วันพระราชพิธี

ท้องฟ้าเริ่มเป็นสีเทาจางๆ หมู่เมฆที่ลอยอยู่เกลื่อนกลาดประดับด้วยรัศมีสีต่างๆ ราวจะต้อนรับวันสำคัญ ดาวประกายพรึกทอแสงเจิดจำรัสอยู่เหนือทิวไม้ยังไม่ยอมเคลื่อนคล้อยลงง่ายๆ ลมเย็นที่โชยผ่านมาพาเอาความชุ่มชื้นของหยาดหยดน้ำค้าง และกลิ่น ไม้ดอกที่งามที่สุด เหน็บซ้อนไว้แนบหัวใจ
อโณทัย บอกเจ้าหน้าที่ประหารว่า “ผมจะเป็นคนให้สัญญาณเอง เมื่อพร้อม
อโณทัย หันตรงไปเบื้องทิศตะวันออก ถูกรัศมีสีทองจับเป็นประกายกระจ่างทั้งตัว ดวงตายังจับอยู่ ณ ดวงดาวที่หรี่แสงลงทุกที


เลือดขัตติยา (The Princess): Ending


ดารา..
สำเนียงที่ขานนาม ซาบซึ้งด้วยความรักอย่างสุดแสน ก่อนที่เจ้าตัวจะคุกเข่าลง ผ้าเช็ดหน้าสีขาวในมือขวายกขึ้นสูง.....ลมเย็นๆ หยุดพัด เสียงน้ำค้างหยาดหยดหยุดนิ่ง ใบพฤกษ์สงบไม่เคลื่อนไหว...ประกายของเงาโลหะต้องรัศมีสีทองของดวงอาทิตย์ยามอโณทัยแวววับ...ครั้นแล้ว..ผ้าสีขาว..เบาบาง...ก็ค่อยๆหลุดปลิวคว้างลงมา...



ในท้องพระโรง

เจ้าหญิงทรงภูษาสีดำ ออกรับพิธีสถาปนา ขณะเสด็จพระราชดำเนิน น้ำพระเนตรคลอคลอง

ดูเหมือนเสียงห้าวลึก อ่อนหวานอาทรไปด้วยความรัก แว่วมาสู่ความทรงจำ กระแสแห่งความรักอันเปี่ยมท้น นับจากนี้จะเหลืออยู่เพียงความทรงจำ สดใส ยืนยาว ที่ไม่มีวันรู้จืดจางหรือรางเลือนไปเป็นอันขาด
“ อย่าร้องไห้...ดารา...อย่าร้องไห้....”
ไกลออกไป.ที่เกาะกลางน้ำ ที่ ณ.หน้าผาสูงอันร่มรื่นด้วยทิวพฤกษ์ชอุ่มครึ้ม บุคคลหนึ่งคงจะได้นอนสงบอยู่ ณ ที่นั่นชั่วนิรันดร.... รอก่อน อโณทัย....รอก่อน...อีกไม่นานเราจะได้พบกัน....รอก่อน...



ยามใดที่ ดาราเจิดจ้าแจ่มจรัสกลางพโยม
ยามนั้นสุริยาทิตย์ ก็สิ้นแสง ลับเลือนหายไปจากฟากฟ้า
รอเพลา รุ่งอรุโณทัย ของวันใหม่
แต่ สำหรับ ทิพยรัตน์ดารา
อโณทัย มิได้หวนคืนมาใหม่ได้อีกเลย
คงสาดแสงแห่งความสว่างไสว อบอุ่น ละมุนละไม แค่ เพียงใน ดวงหฤทัย เท่านั้นเอง
!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!