วันเสาร์ที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

"A Frozen Flower" เรื่องจริงที่เกิดขึ้นในสมัยกษัตริย์ กงนิม ที่ 31 ...แห่งราชวงศ์โครยอ

[VOD] Korean Poetry, 쌍화점 Ssangwhajeom / "A Frozen Flower" Korean Movie เรื่องจริงที่ควรดู


Korean Poetry, 쌍화점 Ssangwhajeom / 쌍화점 ost



"A Frozen Flower" เรื่องจริงที่เกิดขึ้นในสมัยกษัตริย์ กงนิม ที่ 31 แห่งราชวงศ์โครยอ

เดิมทีผู้เขียนได้อ่านวิจารณ์เกี่ยวกับภาพยนต์เรื่องนี้ ทั้งที่เป็นภาษาเกาหลี อังกฤษ และไทย..บทวิจารณ์หลายบทก็เจาะประเด็นไปที่พ้นเรื่องเพศสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นระหว่างกษัตริย์กับหัวหน้าองค์รักษ์และพระราชินี...บางท่านก็วิจารณ์ออกมาด้วยความไม่เข้าใจในประวัติศาสตร์ของประเทศเกาหลีในยุคนั้น..บ้างก็ว่าเป็นภาพยนต์ของบุคคลที่ชอบเพศเดียวกัน...บ้างก็ว่าเพราะเหตุผลที่ถูกกดดันทางการเมืองแต่กลับบอกว่านี่คือส่วนสำคัญที่ภาพยนตร์ต้องการสื่อ...ซึ่งก็ไม่ผิดแต่ก็ไม่ถูกเสียทีเดียว...เนื่องจากภาพยนต์นี้เป็นภาพยนต์ที่สร้างขึ้นจากเรื่องจริงที่เกิดขึ้นในรัชสมัยของกษัตริย์กงนิม ที่ 31 แห่งราชวงศ์โครยอ

ผู้สร้างต้องการสะท้อนถึงความเป็นจริงที่เกิดขึ้นในข่วงปลายของอาณาจักรโครยอ...ในยุคนั้นโครยอต้องตกอยู่ภายใต้อำนาจการควบคุมของแคว้นหยวนหรือชาวเกาหลีเรียกว่าอาณาจักรวอน เนืองจากผู้นำอาณาจักรโครยออ่อนแอ และอำนาจในการบริหารราชการแผ่นดินอยู่ภายใต้อทธิพลของสภาขุนนาง ด้วยเหตุดังกล่าวก่อให้เกิดการคอร์รัปชั่น ชนชั้นผู้ปกครองไม่สนใจราษฎร มุ่งเพียงเสาะหาความร่ำรวยผลประโยชน์และอำนาจใส่ตนและวงศ์ตระกูลเท่านั้น จึงทำให้อาณาจักรหยวนมีอำนาจเหนืออาณาจักรโครยอ

ตามธรรมเนียมปฎิบัติโบราณ แคว้นใดที่อ่อนแอกว่าย่อมต้องส่งองค์รัชทายาทไปพำนักในอาณาจัรที่เข้มแข็งกว่า ทำให้รัชทายาทมากมายหลายพระองค์ของโครยอต้องเดินทางไปศึกษาเล่าเรียนยังแคว้นหยวน...แต่แท้ที่จริงแล้วก็คือการไปเป็นตัวประกันของโครยอนั่นเอง...หรือไม่ก็ต้องแต่งงานกับธิดาของเจ้าเมืองในแคว้นหยวนหรือราชธิดาของแคว้นหยวนเอง ทั้งนี้เพื่อให้สะดวกต่อการควบคุมและยึกครองอำนาจในการบริหารและปกครองอาณาจักรโครยอได้ง่ายขึ้น ซึ่งอาจเรียกได้อีกอย่างว่าเป็นนโยบายในการแผ่ขยายอำนาจนั่นเอง

ดังนั้นการแต่งงานข้ามแคว้นหรืออาณาจักรนี้จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีรัชทายาทเพื่อสร้างความมั่นคงแก่ราชบัลลังก์และเพื่อการครอบครองอาณาจักรโครยอ นับเป็นการสร้างรากฐานอำนาจให้แก่แคว้นหยวนให้มีความมั่นคงมากยิ่งขึ้น แต่เมื่อถึงรัชสมัยของกษัตริย์กงนิม พระองค์ไม่มีบุตรและมีเรื่องเล่าต่อกันมาว่าพระองค์มีจิตใจฝักใฝ่ในเพศเดียวกัน จึงก่อให้เกิดโศกนาฎกรรมแห่งความรักขึ้น เนื่องด้วยพระองค์ถูกกษัตริย์จากแคว้นหยวนบีบให้มีรัชทายาท ดังนั้นพระองค์จึงหาทางออกด้วยการมีพระบัญชาให้ราชองครักษ์ฮองลินร่วมหลับนอนกับพระราชินี โนกุก Noguk ซึ่งเป็นพระราชธิดาแห่งแคว้นหยวน หากแต่ราชองครักษ์ฮงลิน มิได้มีความสัมพันธ์เพียงพระราชินีเท่านั้น ยังมีความสัมพันธ์ลับๆ กับพระสนมของพระองค์และแอบลักลอบได้เสียกัน จนกระทั่งพระองค์จับได้ ด้วยเหตุนี้ทำให้พระองค์ทรงกริ้วและได้มีพระบัญชาให้ประหารชีวิตฮองลินและบรรดาราชองครักษ์ที่รู้เรื่องทั้งหมด ซึ่งก่อให้เกิดความไม่พอใจกับเหล่าทหารราชองครักษ์อย่างยิ่ง ทำให้เหล่าหทารราชองครักษ์วางแผนร่วมือกันสังหารพระองค์ ในประวัติศาสตร์จริงได้จารึกไว้ว่าพระองค์ทรงสิ้นพระชนม์เพราะ ราชองครักษ์ ฮองลิม (Hong Ryun - 홍륜)และ ราชองครักษ์โชแมนเซง Choe Man-saeng ลอบสังหารในขณะที่พระองค์กำลังทรงพระบรรทม.

นอกจากนี้ผู้สร้างภาพยนต์ได้พยายามถ่ายทอดถึงอัจฉริยภาพทางด้านศิลปะ ในสาขาต่าง ๆ มากมาย ของ กษัตริย์กงนิม หรือที่ชาวเกาหลีใต้รู้จักพระองค์เป็นอย่างดีในนามของ "กษัตริย์ศิลปินแห่งโครยอ" ไว้ด้วย ไม่ว่าจะเป็นด้านบทกวี ดนตรี หรือแม้กระทั่งการวาดภาพ ซึ่งปัจจุบันประเทศเกาหลีใต้ ได้รวบรวมและจัดเก็บไว้ในพิพิธภัณฑ์สถานศิลปร่วมสมัยแห่งชาติ ณ กรุงโซล ซึ่งผู้เขียนได้นำมาโพสต์ไว้ในคอลัมส์นี้แล้ว รวมทั้งต้นฉบับซังฮวาจอม (쌍화점 Ssangwhajeom)ซึ่งแต่งขึ้นในยุคปลายของอาณาจักรโครยอ เป็นภาษาเกาหลี พร้อมด้วยคำแปล ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ซึ่งผู้เขียนได้แปลไว้ด้วย ทั้งนี้เพื่อก่อให้เกิดความเข้าใจแก่ผู้อ่านมากขึ้น ว่าเหตุใดภาพยนต์เรื่องนี้จึงใช้ชื่อภาษาเกาหลีว่า 쌍화점 (Ssangwhajeom)
สำหรับบทกวีที่ขับร้องโดย โจจินโม ในภาพยนต์นั่นเป็นบทกวีที่แต่งขึ้นโดยพระเจ้ากงนิม ซึ่งสะท้อนถึงเรื่องราวของพระองค์เอง และยังเป็นที่เลื่องลือจนถึงปัจจุบัน ในประเทศเกาหลีใต้..


Korean Poetry, 쌍화점 Ssangwhajeom
13C (Koryeo period of Korea)


쌍화점에 쌍화 사라 가로신댄
회회아비 내 손모글 주여이다.
이 말사미 이점 밧긔 나명들명,
다로러 거디러 죠고맛간 삿기광대 네 마리라 호리라.
더러둥셩 다리러디러 다리러디러 다로러거디러 다로러
긔 자리에 나도 자라 가리라.
위 위 다로러거디러 다로러
긔 잔 대가티 덤거츠니 업다.

삼장사애 블 혀라 가고신댄
그 뎔 사주 l 내 손모글 주여이다.
이 말사미 이 뎔 밧긔 나명들명,
다로러 거디러 죠고맛간 삿기 상좌 ㅣ 네 마리라 호리라.
더러둥셩 다리러디러 다리러디러 다로러거디러 다로러
긔 자리에 나도 자라 가리라.
위 위 다로러거디러 다로러
긔 잔 대가티 덤거츠니 업다.

드레 우므레 므를 길라 가고신댄
우뭇용이 내 손모글 주여이다.
이 말사미 우물 밧긔 나명들명.
다로러 거디러 죠고맛간 드러바가 네 마리라 호리라.
더러둥셩 다리러디러 다리러디러 다로러거디러 다로러
긔 자리에 나도 자라 가리라.
위 위 다로러거디러 다로러
긔 잔 대가티 덤거츠니 업다.

술 팔 지븨 수를 사라 가고신댄
그 짓아비 내 손모글 주여이다.
이 말사미 이 집 밧긔 나명들명
다로러 거디러 죠고맛간 싀구비가 네 마리라 호리라.
더러둥셩 다리러디러 다리러디러 다로러거디러 다로러
긔 자리에 나도 자라 가리라.
위 위 다로러거디러 다로러
긔 잔 대가티 덤거츠니 업다.
----------------

Translation to English & Thai Language by ...ร้อยตะวัน (Roytavan)...


I went to the shop
for by some flower cake,
A man grabbed my wrist,
If a word bring out,
The errand boy have to told about this..,

You go to sleep now,
I go to sleep too.

I want go to the temple,
Please conducts me a temple's abbot,
Grabbed my wrist...

If a word bring out,
The yonger monk have to told about this..,

You go to sleep now,
I go to sleep too...

-----------------
ฉีนไปที่ร้านขายของ
เพื่อซื้อเค้กดอกไม้
มีใครบางคนมาจับข้อมือของฉัน
หากมีใครล่วงรู้เรื่องนี้..?
หนุ่มรับใช้คงต้องพูดเรื่องนี้แน่ ๆ

เธอต้องไปนอนล้วเหรอ,
ฉันก็ต้องไปนอนเหมือนกัน,

ฉันจะต้องไปที่อารามวัด
ท่นเจ้าอาวาสได้โปรดนำทางฉันสิ,
จูงมือฉันนะ
หากมีใครล่วงรู้เรื่องนี้...?
พระหนุ่มคงต้องพูดเรื่องนี้แน่ ๆ

เธอต้องไปนอนล้วเหรอ,
ฉันก็ต้องไปนอนเหมือนกัน,





This movie is based on Koryeo poem (13C). It is a corrupted love poem written in 13C (Koryeo period of Korea). The title and the theme of the movie follow the poem. The song you hear is made with the peom. The movie is about inappropriate love relationship between King, Queen and a royal guard.

쌍화점 Ssangwhajeom / "A Frozen Flower" Korean Movie : Synopsis

Synopsis In the end of Goryeo era politically manipulated by the Yuan Dynasty, the ambitious King of the Goryeo Dynasty organizes Kunryongwe. Hong Lim, the commander of Kunryongwe, captivates the King of Goryeo, and the Queen keeps her eyes on the relationship between Hong Lim and the King with a reluctant view. Meanwhile, the bilateral relation between Goryeo and the Yuan gets worse as Yuan demands to install the cousin of the King in the Crown Prince of Goryeo with ascribing it to no son the King has. The King refuses it resolutely, so the high-ranking officials of Goryeo, who are in submission to Yuan, are discontented with the king. One day, the King gives Hong Lim a covert yet unobjectionable order to sleep with the Queen instead of himself to protect the independence of Goryeo from the Yuan by making a son, the successor to Goryeo throne.

Gongmin of Goryeo:[공민왕 영정]


Jo Jin Mo cast : Gongmin of Goryeo[공민왕 영정]

Gongmin of Goryeo:[공민왕 영정] : The Artist King.

King Gongmin (1330 – 1374) ruled Goryeo (Korea) from 1351 until 1374. He was the second son of King Chungsuk. In addition to his various Korean names (see right), he bore the Mongolian name Bayàn Temür (伯顔帖木兒).

Goryeo had been a dependency of the Mongol Yuan Dynasty since Mongol invasion of Korea. Starting with King Chungnyeol, prospective rulers of Korea married Mongol princesses and were customarily sent to the Yuan Court, in effect, as hostages. As per this custom, King Gongmin spent many years in the Yuan court, being sent there in 1341, before ascending the Korean throne. He married the Mongol princess Queen Noguk (노국대장공주, 魯國大長公主). But in the mid-14th century Yuan was beginning to crumble, soon to be replaced by the Ming dynasty in 1368.

Although the relationship between Queen Noguk and the king were very close, they failed to conceive an heir for many years. Despite suggestions of receiving a second wife, the king ignored these requests. Queen Noguk became pregnant in 1365 but died during the child birth which led to the King's depression and mental instability. He became indifferent to politics and entrusted a great task to monk Sin Don (신돈, 辛旽). However, after six years, Sin Don lost his position.

Goryeo's entrenched bureaucracy never forgave King Gongmin for his reform efforts. They interpreted his policy of cutting all ties with the Yuan and establishing relations with Ming China as a direct threat to their status and feared that further attempts at reform might yet be made. Kaesong's deposed pro-Mongol faction battled to protect its position and hoped to renew ties with the Mongols who had helped them gain and hold their wealth in the first place. in 1374, he was killed by his young men, Choe Man-saeng (최만생) and some young men he was recently having relations with. One of the young men, Hong Ryun (홍륜) had relations with one of Gongmin's concubines, which led to Gongmin's anger. So before Gongmin could kill him, Hong Ryun and Choe Man-saeng killed Gongmin in his sleep.

ภาพวาดจริงจากฝีพระหัตถ์ของกษัตริย์กงนิมแห่งโครยอ
ปัจจุบันอยู่ใน พิพิธภัณฑ์ศิลปร่วมสมัยแห่งชาติ ประเทศเกาหลีใต้
(National Museum of Contemporary Art)

ภาพวาดในภาพยนตร์

쌍화점 Ssangwhajeom : The rhythm of prose with Geomungo.

King Gongmin was well known for his artistic skills and are referred to as one of the best artists of the Goryeo period. He was also well-known for his calligraphy works. Example of his works are 《천산대렵도(天山大獵圖)》(국립현대미술관) 《노국대장공주진(眞)》 《석가출산상(釋迦出山像)》 《아방궁도(阿房宮圖)》《현릉산수도(玄陵山水圖)》 《동자보현육아백상도(童子普賢六牙白象圖)》.

ซังฮวาจอม ( Ssanghwajeom = 쌍화점 ):

การศึกษาในเรื่อง ซังฮวาจอมนี้ มีน้อยมาก อย่างไรก็ดี ผู้เขียนก็บังเอิญค้นคว้าหาจนได้เจอ บทสรุป เกี่ยวกับ ซังฮวาจอม( 쌍화점:Ssanghwajeom) ซึ่งเป็นบทสรุปย่อจากดุษฎีนิพนธ์ ของ Myung Joon Kim

ได้ศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งอิทธิพลต่อการสร้างสรรบทกวีในยุคสมัยของกษัตริย์ ซูลกายอน ว่าเกิดขึ้นในช่วงที่พระองค์จะต้องเสด็จไปอยู่ที่แคว้นหยวน ซึ่งสมัยนั้นรัชทายาทหลายพระองค์ของอาณาจักรโครยอต้องไปศึกษาเล่าเรียนและต้องพำนักอยู่ที่แคว้นหยวนด้วย....ซึ่งความจริงก็คือการไปเป็นตัวประกันแก่แคว้นหยวนนั้นเอง...ด้วยเหตุนี้จึงทำให้เกิด บทกวีหรือที่รู้จักกันทั่วไปว่า ซังฮวาจอม ( Ssanghwajeom) นั่นเอง

ซังฮวาจอม ( Ssanghwajeom) เป็นการผสมผสานด้านวัฒนธรรมที่เห็นได้ชัด ระหว่างชนชาติ อันได้แก่ มองโกล ซึ่งได้รับอิทพลโดยตรงจากศาสนอิสลาม ร่วมกับ ท่วงทำนองเสนาะที่ได้มาจากแคว้นหยวนซึ่งเดิมก็คือชาวฮั่น ผสมผสานเข้ากับเครื่องดนตรีเกาหลีที่เรียกว่า กอมูนโก จนกลายเป็น ซังฮวาจอม หรืออาจกล่าวได้ว่าคล้ายกับการขับเสภาของไทยนั่นเอง เพียงแต่มีใช้เครื่องดนตรีและจังหวะลีลาในการขับร้องที่แตกต่างกัน

논문정보
. 발행처 : 한국동서비교문학학회
. 간행물정보 : 동서비교문학저널 , 14권 , 전체:22페이지 , 시작페이지:7페이지
. 발행년월 : 2006년 1월
. 저자 : 김명준 ( Myung Joon Kim )

영문제목
On the External Factors Involved in the Creation of Ssanghwajeom

영문초록
Dissertation about Ssangwhajeom (쌍화점): Korean Poetry.

This dissertation aims to shed light on the external factors involved in the creation of Ssanghwajeom during the reign of King Chungryeol. King Chungryeol visited Yuan Empire several times since he became the crown prince, and experienced a highly advanced foreign culture in Yuan Empire where many different cultures coexisted. At that time, Islamic culture had filtered into the hearts of the people of Yuan Empire very deeply, and specifically, this penetration of Islamic culture contributed a lot to the formation of Wonsangok and miscellaneous plays. This cultural influence was extended to Koryeo and King Chungryeol, and finally, Ssanghwajeom was born here. It can be said that miscellaneous plays of Yuan Empire and Islamic religion were the underlying factors that led to the formation of Ssanghwajeom. We can infer that the 4 act system of miscellaneous plays of Yuan Empire, sole main singing character, male-oriented ruling ideology, etc, and music had bearings on Ssanghwajeom. On that basis, King Chungryeol had his interest in miscellaneous plays. The trade between Koryeo and Islamic states was gigantic, and the Arabian men entered Koryeo through Yuan Empire for the most part before and after the reign of King Chungryeol. They engaged in commercial activities in Koryeo, and the fact that Arabian men supervised the festival celebrating the construction of new palace in the 5th year after the enthronement of King Chungryeol indicates that they had a great influence in Koryeo. This background led an Arabian man to play the hero in Ssanghwajeom. And that the space of play, namely, restaurants, temples, downtown, taverns, etc, was designated as the entertaining district of commercial city points the fact that Islamic merchants played a signifiant role in the formation of commercial city at that time. Moreover, the plot in which a promiscuous man had multiple sexual intercourse with many women reflects the customs of male-oriented Islamic society.

http://www.reportnet.co.kr/detail/1175/1174777.html





공민왕 (恭愍王/1330~1374)

고려 제31대 왕(재위 1351∼74). 호 이재·익당. 이름 전. 첫 이름은 기. 몽골식 이름은 빠이앤티무르. 충숙왕의 둘째 아들. 비는 원나라 위왕의 딸 노국대장공주. 충목왕이 즉위할 때 강릉대군에 봉해졌다. 1341년(충혜왕 복위 2) 숙위하기 위하여 원나라에 가서, 노국대장공주와 결혼하였다. 원나라의 지시로 충정왕이 폐위되면서 왕위에 올랐다. 원나라가 쇠퇴해지자 원나라 배척운동을 일으키고, 52년(공민왕 1) 변발·호복 등의 몽골풍을 폐지하였다. 56년 몽골 연호·관제를 폐지하여 문종 때의 제도로 복귀하는 한편, 내정을 간섭한 정동행중서성이문소를 폐지하였다. 이어 원나라 왕실과 인척관계를 맺고 권세를 부린 기철 일파를 숙청하고, 100년 간 존속한 쌍성총관부를 쳐서 폐지하는 등 빼앗긴 영토를 회복하였다. 68년 명나라가 건국하자 이인임을 보내어, 명나라와 협력하여 요동에 남은 원나라 세력을 공략하였다. 69년 이성계로 하여금 동녕부를 치게 하여 오로산성을 점령, 국위를 크게 떨쳤다. 내정에서는 정방을 폐지하고, 신돈을 등용하여 귀족이 겸병한 토지를 소유자에게 반환시키고, 불법으로 노비가 된 사람을 해방시키는 등 개혁적인 정치를 베풀었다. 그러나 그 뒤 홍건적·왜구의 계속적인 침범으로 국력이 소모되었고, 65년 노국대장공주가 죽자 그녀를 추모하여 불사에만 전심하였다. 정치를 신돈에게 맡겨 정치가 문란해졌으며, 자제위를 설치하여 풍기도 문란해졌다. 특히 홍륜이 익비를 범하여 임신시키자, 이를 은폐할 의도로 홍륜·최만생 등을 죽이려다가, 그들에게 살해되었다. 그림에 뛰어나 고려의 대표적 화가의 한 사람으로 일컬어진다. 글씨에도 능하였다. 능은 현릉이다. 작품에 《천산대렵도》(국립현대미술관) 《노국대장공주 진》 《석가출산상》 《아방궁도》 《현릉산수도》 《동자보현육아백상도》 등이 있다.

SOURCE :
http://en.wikipedia.org/wiki/Chungnyeol_of_Goryeo
http://www.art2me.org/images/gamsang/KoreanArt/gongminwang.htm

http://www.seelotus.com/gojeon/gojeon/korea-gayo/ssang-hwa-jeom.htm

http://en.wikipedia.org/wiki/Chungnyeol_of_Goryeo

http://en.wikipedia.org/wiki/Gongmin_of_Goryeo

Tag :

논문, 고려가요, 고려속요, 충렬왕, 쌍화점, 원곡(元曲), 잡극, 이슬람, Koryeogayo, Koryeosokyo, King Chungyeol, Ssanghwajeom, Sangok of Yuan Empire, Miscellaneous Playes of Yuan Empire,

Islam, 동양철학, 한국동서비교문학학회, 동서비교문학저널

Roytavan@Copyright 2009

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น